ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนวนภาษาปาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fy:Sprektaal
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ภาษาพูด''' หรือ'''ภาษาปาก''' คือ ภาษาประเภทหนึ่งซึ่งเกิดจากการพูดที่แสดงความคุ้นเคย ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นพิธีรีตอง เช่น ตาแป๊ะ ตะบี้ตะบัน เทน้ำเทท่า ทั้งนี้ ภาษาประเภทนี้อาจปรากฏได้ทั้งในภาษาเขียนและภาษาพูด ในพจนานุกรมไทยจะย่อชื่อภาษานี้ว่า "(ปาก)" เช่น "ทาน (ปาก) ก. กิน, กร่อนมาจาก รับประทาน"
'''ภาษาพูด''' มิได้หมายถึง [[ภาษา]]ใดๆ โดยเฉพาะ แต่หมายถึง ลักษณะหรือความนิยมการใช้ภาษาที่ไม่ถือเป็นแบบแผน ไม่ว่าจะเป็น[[การพูด]] หรือ[[การเขียน]]ก็ตาม การใช้ภาษาพูดนั้น มีลักษณะต่างๆ มากมาย เช่น การใช้[[คำศัพท์]] รูปแบบ[[ประโยค]]หรือ[[วลี]] รวมทั้งการใช้ความหมายของคำที่แตกต่างไปจากภาษาที่เป็นแบบแผนก็ได้
 
การใช้ภาษาปากที่แตกต่างจากภาษาแบบแผน หรือภาษามาตรฐานของภาษาหลักนั้นๆนั้น ๆ เมื่อใช้นานไป อาจกลายเป็นมาตรฐานย่อยอย่างหนึ่ง หรืออาจพัฒนาขึ้นเป็นมาตรฐานในภาษานั้น กระทั่งไม่เรียกว่าภาษาปากอีกต่อไปก็ได้ หากลักษณะการใช้ภาษาเช่นนั้นเป็นที่ยอมรับและใช้โดยทั่วไป
บางครั้งอาจเรียกลักษณะการใช้ภาษาเช่นนี้ว่า "ภาษาปาก" ในพจนานุกรมไทย มักระบุว่า "(ปาก)" ซึ่งก็คึอ ภาษาปาก นั่นเอง
 
การใช้ภาษาปากที่แตกต่างจากภาษาแบบแผน หรือภาษามาตรฐานของภาษาหลักนั้นๆ เมื่อใช้นานไป อาจกลายเป็นมาตรฐานย่อยอย่างหนึ่ง หรืออาจพัฒนาขึ้นเป็นมาตรฐานในภาษานั้น กระทั่งไม่เรียกว่าภาษาปากอีกต่อไปก็ได้ หากลักษณะการใช้ภาษาเช่นนั้นเป็นที่ยอมรับและใช้โดยทั่วไป
 
ภาษาปากนั้น แม้จะไม่ใช่ภาษาแบบแผน แต่ไม่จำเป็นว่าจะเป็นภาษาที่ไม่สุภาพเสมอไป หากเป็นลักษณะการใช้ภาษาที่สะดวก ง่าย กะทัดรัด และเป็นกันเอง