ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคโยตี้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ภาพ:โคโยตี้.jpg|thumb| สาวโคโยตี้จาก[[งานมอเตอร์โชว์]]]]
 
'''โคโยตี้''' เป็นชื่อองค์กรเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเพื่อเรียกร้องสิทธิของผู้ประกอบอาชีพทางเพศองค์กรหนึ่ง ชื่อขององค์กรมาจาก[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า "COYOTE" ซึ่งย่อมาจาก "Call Off Your Old Tired Ethics" แปลว่า "อย่าไปใส่ใจธรรมเนียมประเพณีเก่าแก่ล้าสมัยอีกเลย" องค์กรมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นให้แก่[[นครโสเภณี|หญิงนครโสเภณี]] [[แมงดา|ชายแมงดา]] และ[[แม่เล้า]] ตลอดจนลบล้างมลทินที่สังคมมีต่ออาชีพในทางเพศ ก่อตั้งขึ้นใน[[รัฐแคลิฟอร์เนีย]]เมื่อ [[พ.ศ. 2516]] โดยนางมาร์โก เซนต์ เจมส์ (Margo St. James) หญิงนครโสเภณีซึ่งผันตัวมาเป็นนักนิยมสิทธิสตรี ปัจจุบัน นางนอร์มา จีน อัลโมโดวาร์ (Norma Jean Almodovar) เป็นผู้อำนวยการองค์กรคนปัจจุบัน และมีสำนักงานสาขาที่[[ซานฟรานซิสโก|นครซานฟรานซิสโก]]
 
ชื่อขององค์กรมาจาก[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า "COYOTE" ซึ่งย่อมาจาก "Call Off Your Old Tired Ethics" แปลว่า "อย่าไปใส่ใจขนบธรรมเนียมเก่าแก่ล้าสมัยของคุณอีกเลย" นางมาร์โกได้คำนี้มาจากการที่นายทอม รอบบินส์ (Tom Robbins) นักเขียนนวนิยายชาวอเมริกาผู้หนึ่ง เรียกขานเธอว่า "แม่จิ้งจอกสาวนักล่อลวง" (coyote trickster) และได้ดัดแปลงเป็นคำย่อของดังกล่าวเพื่อให้เข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์กรตามลำดับ
ในสังคมไทย ชื่อ "โคโยตี้" ขององค์กรดังกล่าว หมายถึง บุคคลหรือองค์กรหนึ่งที่หาเลี้ยงชีพด้วยการร้องรำทำเพลงทำนองเร้าใจในแนวเย้ายวนกามารมณ์
 
นางมาร์โกนั้นมีความเห็นว่า อาชีพทางเพศควรมีความเท่าเทียมเสมอกับอาชีพอื่น ๆ โดยเคยเขียนบทความตอนหนึ่งใน [[พ.ศ. 2516]] ว่า "ไม่ควรจะมีความแตกต่างอย่างมากมายระหว่างการได้รับสินจ้างสำหรับการให้บริการทางเพศชั่วโมงหนึ่ง การรับจ้างพิมพ์ดีดชั่วโมงหนึ่ง หรือการแสดงบนเวทีชั่วโมงหนึ่ง"
ในเมืองไทยเริ่มมีสาวโคโยตี้ครั้งแรกที่ [[ฟอร์เต้]] บาร์แห่งหนึ่งในซอยสุขุมวิท 24 ในช่วงปี พ.ศ. 2545
 
== coyote ugly ==
[[คำสแลง]] ภาษาอังกฤษของคำว่า "coyote ugly" /คายโย้ตีอั้กกลี/ หมายถึง คนที่น่าเกลียดมาก ใช้กับเหตุการณ์ที่ผู้ชายหรือผู้หญิงตื่นขึ้นมาจากการร่วมหลับนอนกับคนที่เพิ่งพบกัน และสังเกตเห็นว่าคู่นอนหน้าตาน่าเกลียดมาก ไม่เหมือนกับตอนก่อนหลับนอนกัน และพยายามที่จะหนีแม้ว่าจะต้องตัดแขนตัวเองให้ขาด เปรียบเทียบกับ [[ไคโยตี|สุนัขไคโยตี]] เมื่อเวลาติด[[กับดักสัตว์|กับดัก]]จะพยายามดึงขาตัวเองให้หลุดออกจากกับดัก แม้ว่าขาจะขาดก็ตาม
 
==โคโยตี้ในสังคมไทย==
 
ในสังคมไทย ชื่อคำ "โคโยตี้" ซึ่งมาจากชื่อขององค์กรดังกล่าว หมายถึง บุคคลหรือองค์กรหนึ่งที่หาเลี้ยงชีพด้วยการร้องรำทำเพลงทำนองเร้าใจในแนวเย้ายวนกามารมณ์
 
ในเมืองไทยเริ่มมีสาวโคโยตี้ครั้งแรกที่ [[ฟอร์เต้]] บาร์แห่งหนึ่งในซอยสุขุมวิท 24 ในช่วงปี พ.ศ. 2545
 
เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2549 คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงวัฒนธรรม]] เปิดเผยว่ากระทรวงวัฒนธรรมได้รับหนังสือจาก[[สำนักราชเลขาธิการ]] ระบุว่า [[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงมีพระราชปรารภห่วงใยถึงเรื่องการจัดแสดงโคโยตี้ในวัด หลังจากทอดพระเนตรการถ่ายทอดสดงาน[[บั้งไฟพญานาค]]จาก[[จังหวัดหนองคาย]]ในช่วง[[วันออกพรรษา]]<ref>ข่าว กปส., [http://www.thaisnews.com/news_detail.php?newsid=192966 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงการเผยแพร่ภาพสาวโคโยตี้ในวัด]</ref> ภายหลังกระทรวงวัฒนธรรมจึงเตรียมออกมาตรการคุมเข้มไม่ให้เยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี เต้นโคโยตี้ <ref>ข่าว กปส., [http://www.thaisnews.com/news_detail.php?newsid=193101 รมว.พม.จี้ อปท.ดูแลความเหมาะสมการแสดงโคโยตี้ ชี้ต้องแก้ทั้งระบบ]</ref>