ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรรูปลิ่ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fy:Spikerskrift
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Ugaritic7-kha-dhal-zu-thanna.PNG|thumb|300px|อักษรยูการิติค อักษรรูปลิ่มที่เป็นระบบพยัญชนะ]]
'''อักษรรูปลิ่ม''' หรือ '''คูนิฟอร์ม''' เป็นระบบการเขียน ที่หลากหลาย เป็นได้ทั้ง อักษรแทนพยางค์ อักษรแทนคำ และอักษรที่มีระบบสระ - พยัญชนะ คำว่า “cuneiform” มาจาก[[ภาษาละติน]] “cuneus” แปลว่า[[ลิ่ม]] ดังนั้นอักษรรูปลิ่มจึงรวมอักษรที่มีรูปร่างคล้ายลิ่มทั้งหมด ภาษาหลายตระกูล ทั้งตระกูลเซมิติค ตระกูลอินโด - ยุโรเปียน และอื่นๆ ที่เขียนด้วย อักษรนี้ เช่น
* [[อักษรสุเมเรีย]]
* [[อักษรอัคคาเดีย]]/ บาบิโลเนีย/ อัสซีเรีย (เซมิติคตะวันออก)
บรรทัด 12:
* [[อักษรเปอร์เซียโบราณ]] (ส่วนใหญ่ใช้แทนพยางค์)
 
== แผ่นดินเหนียว ตัวกลางของอักษรรูปลิ่ม ==
 
[[ภาพ:cuneiform script2.jpg|thumb|250px|อักษรรูปลิ่มบนดินเหนียว ]]
 
ตัวอย่างเก่าสุดของอักษรใน[[เมโสโปเตเมีย]] เริ่มราว 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช พบในบริเวณ อูรุก (Uruk) นิปเปอร์ ซูซา และเออร์ (Ur) ส่วนใหญ่เป็นบันทึกเกี่ยวกับการค้าขาย บันทึกเหล่านี้ พัฒนามาจาก ระบบการนับ ที่ใช้มาตั้งแต่ 5,000 ปี ก่อนหน้านั้น แผ่นดินเหนียวเริ่มใช้ตั้งแต่ 8,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในเมโสโปเตเมีย โดยทั่วไป เป็นรูปทรง 3 มิติ มี 2 ชนิดคือ แบบแผ่นแบน และแผ่นซ้อน
* แบบแผ่นแบน เป็นรูปแบบโบราณ พบตั้งแต่ 8,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในบริเวณกว้าง ตั้งแตตั้งแต่ [[ตุรกี]] [[ซีเรีย]] [[อิสราเอล]] [[จอร์แดน]] [[อิหร่าน]] และ[[อิรัก]] เป็นแบบที่แพร่หลายกว่า คล้ายกับว่าเป็นแบบที่ใช้ในการนับทางเกษตรกรรม เช่น การนับธัญพืช
* แบบแผ่นซ้อน เป็นแบบที่ตกแต่งด้วยเครื่องหมาย เริ่มพบในช่วง 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทางภาคใต้ของเมโสโปเตเมีย ใช้บันทึกเกี่ยวกับสินค้าแปรรูป ซึ่งพบในบริเวณ ที่มีการขยายตัวของ[[อุตสาหกรรม]]อย่างรวดเร็ว เช่น สุเมเรีย ตัวอย่างที่เก่าสุด พบในวิหาร[[เทพีอินอันนา]] เทพีแห่งความรักและความอุดมสมบูรณ์ ของชาวสุเมเรีย ในเมืองอูรุก ซึ่งทางวิหารใช้บันทึก เกี่ยวกับการแปรรูปสินค้าของวิหาร
 
== จากแผ่นดินเหนียวสู่ตัวอักษร ==
แผ่นดินเหนียวเหล่านี้ ถูกเก็บในห่อที่แข็งแรง ทำด้วยดินเหนียว เรียกว่าบุลลา (bulla) เพื่อป้องกันการสูญหาย เนื่องจากการนับแผ่นดินเหนียวภายในบุลลา หลังการผนึกทำได้ยาก การแก้ปัญหาจึงใช้การกดแผ่นดินเหนียว ลงบนผิวนอกของบุลลา ในขณะที่ดินเหนียวยังอ่อนตัวอยู่ แล้วจึงใส่แผ่นดินเหนียวเข้าไปข้างใน และปิดผนึก การนับจำนวนแผ่นดินเหนียวอีกครั้ง ใช้การนับรอยกดบนผิวด้านนอก จากรอยกดนี้ ชาวสุเมเรียได้พัฒนามาเป็นสัญญลักษณ์สัญลักษณ์รูปลิ่ม เพื่อใช้บอก ความหมายและจำนวน เช่นรูปลิ่ม 1 อัน หมายถึง 1 รูปวงกลม หมายถึง 10 การบันทึกว่า “แกะ 5 ตัว” ใช้การกดลงบนดินเหนียว เป็นรูปลิ่ม 5 อัน แล้วตามด้วย สัญญลักษณ์ของแกะ
 
== อ้างอิง==
เส้น 26 ⟶ 27:
 
{{อักษรภาพ}}
 
[[หมวดหมู่:อักษรโบราณ|รูปลิ่ม]]