ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดกำแพงแลง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 13:
'''แผนผัง'''
 
ปราสาทวัดกำแพงแลงมีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ผังพื้นล้อมรอบด้วยกำแพง[[ศิลาแลง]]เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ผังทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แผนผังการวางผังภายในกำแพง[[ศิลาแลง]]เป็นที่ตั้งของปราสาท[[ศิลาแลง]]แบบ[[ศิลปะเขมร]]ทั้งหมด 4 องค์ พบปราสาททั้งหมด 3 องค์ทางด้านหน้าวางตัวเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ โดยปราสาทประธานมีขนาดสูงใหญ่กว่าอีก 2 องค์ ส่วนปราสาทองค์ที่ 4 ตั้งอยู่ด้านหลังของปราสาทประธานด้านทิศตะวันออก และมี[[โคปุระ 1 หลัง]] (ซุ้มประตูทางเข้า) 1 หลังที่มียอดเป็นปราสาท)เป็นปราสาทแบบเขมร ปราสาททั้งหมดล้อมรอบด้วยกำแลงศิลาแลง อันเป็นที่มาของชื่อ กำแพงแลง ภายในกำแพง[[ศิลาแลง]]ยังพบสระน้ำอยู่ทางตะวันออก อยู่ชิดขอบกำแพงทางทิศตะวันออกด้วย[[http://photos2.hi5.com/0056/586/877/JP819c586877-02.jpg]]
'''โคปุระ'''
 
[[โคปุระ]] หรือซุ้มประตูทางเข้าก่อด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของปราสาทประธาน ลักษณะเป็น[[ปราสาทเขมร]] [[ศิขระ]]หรือส่วนยอดยังคงสภาพของแต่ละส่วนไว้อย่างสมบูรณ์ ตัว[[เรือนธาตุ]]ของปราสาทเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม มีมุขยื่นออกมาจาก[[เรือนธาตุ]]ทั้ง 4 ด้านเป็น[[จตุรมุข]]ลดหลั่นกัน 2 ชั้น สันหลังคามุขประดับด้วย[[บราลี]] มุขแต่ละด้านมีหน้าต่างหลอกเป็นลูกกรงมะหวดที่ผนังด้านข้างด้านละ 1 แห่ง ประตูทางเข้ามีเพียงทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเท่านั้นที่สามารถเดินเข้าไปได้ ส่วนประตูทางด้านทิศเหนือและทิศใต้เป็นประตูหลอกปิดทึบ รอบ[[โคปุระ]]พบบัวเชิงผนัง ส่วนฐาน[[โคปุระ]] มีผังเป็นรูปกากบาทตัดกัน เนื่องจากเป็นซุ้มประตูทางเข้าจึงทำเป็นฐานทรงเตี้ยสำหรับเดินเข้าได้อย่างสะดวก ปัจจุบันที่[[โคปุระ]]ไม่พบลวดลายปูนปั้นหลงเหลืออยู่แล้ว คงเหลือแต่ร่องรอยของปูนที่ฉาบอยู่ด้านนอกเท่านั้น[[http://photos2.hi5.com/0062/520/321/E3xV.D520321-02.jpg]]
โคปุระหรือปราสาททิศตะวันออก (โคปุระเป็นซุ้มประตูทางเข้าที่มียอดเป็นปราสาท จึงมีนักวิชาการบางกลุ่มเรียกโคปุระว่า ปราสาททิศตะวันออก) ก่อด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ในแกนเดียวกับปราสาททิศตะวันตก ลักษณะแผนผังของโคปุระ [[http://photos2.hi5.com/0062/520/321/E3xV.D520321-02.jpg]]
 
ส่วนเรือนธาตุ เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมีมุขยื่นออกมาทั้ง 4 ทิศ บนสันหลังคามุขที่ยื่นออกมาพบบราลี ลักษณะของมุขที่ยื่นออกมาจะลดลั่นเป็น 2 ชั้น ถึงแม้จะมีมุขยื่นออกมาทั้งสี่ชั้น แต่ทางเข้านั้นมีเพียงทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเท่านั้น ส่วนประตูทางทิศเหนือและทิศใต้เป็นประตูหลอกปิดทึบ มุขแต่ละด้านมีหน้าต่างหลอกแบบลูกกรงมะหวดที่ส่วนผนังด้านข้างด้านละ 1 แห่ง สลักทึบครึ่งหนึ่งให้เห็นลูกกรงมะหวดเพียงครึ่งเดียว รอบปราสาทพบลายบัวเชิงผนัง
 
ส่วนยอด ในส่วนของปลายหลังคา ยังหลงเหลือนาคปัก กลีบขนุนตามมุมปราสาทและส่วนยอดยังคงเหลือพินทุ บัวกลุ่มรองรับพินทุและส่วนของชั้นภูมิไว้อย่างสมบูรณ์
 
ส่วนฐาน มีผังเป็นรูปกากบาทตัดกัน เป็นฐานทรงเตี้ย เพื่อสำหรับการเดินเข้าอย่างสะดวก
 
ปัจจุบันที่โคปุระไม่พบลวดลายปูนปั้นหลงเหลืออยู่แล้ว คงเหลือแต่ปูนฉาบอยู่ด้านนอกเพื่อความแข็งแรงเท่านั้นเท่านั้น
'''ปราสาทประธาน'''
 
ก่อด้วย[[ศิลาแลง]]ตั้งอยู่บนฐานที่ซ้อนกันอย่างน้อย 2 ชั้น [[ศิขระ]]หรือส่วนยอดของปราสาทได้หักพังลงมาแล้ว แต่ยังคงเหลือชั้นรัดประคดและชั้นอัสดงอยู่ รวมทั้งมี[[นาคปัก]]และ[[กลีบขนุน]]ตามอยู่ตามส่วนยอดอยู่บ้าง [[เรือนธาตุ]]ของปราสาทประธานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม มีประตูทางเข้าทั้ง 4 ทิศ ซุ้ม[[หน้าบัน]]เหนือประตูทางเข้าด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกของปราสาทยังมีลวดลายปูนปั้นหลงเหลืออยู่เช่นเดียวกับบริเวณฐาน[[http://photos3.hi5.com/0058/246/458/sLHNqe246458-02.jpg]]
ก่อด้วยศิลาแลง เป็นสถาปัตยกรรมหลัก ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนฐาน ส่วนเรือนธาตุ และส่วนยอด
ส่วนของเรือนธาตุเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมซ้อนชั้นกันอย่างน้อย 2-3 ชั้น มีประตูทางเข้าทั้ง 4 ทิศ และที่ประตูทางเข้านี้ มีร่องรอยของซุ้มประตูเหลืออยู่ เป็นซุ้มโค้งยื่นออกมา ส่วนยอดได้หักพังลงมาแล้ว แต่ยังคงหลงเหลือชั้นภูมิและชั้นอัสดงอยู่ พบนาคปักและกลีบขนุนตามมุมอาคารส่วนยอดอยู่ ทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกของปราสาทยังมีลวดลายปูนปั้นหลงเหลืออยู่ในส่วนของหน้าบันและเสาส่วนฐาน มีฐานซ้อนกันอย่างน้อย 2 ชั้น [[http://photos3.hi5.com/0058/246/458/sLHNqe246458-02.jpg]]
'''ปราสาททิศเหนือ'''
 
ก่อด้วย[[ศิลาแลง]] ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของปราสาทประธาน โดยตั้งอยู่ในแกนเดียวกัน 3 องค์ คือ ปราสาททิศเหนือ ปราสาทประธาน ปราสาททิศใต้ ปัจจุบันปราสาทหลังนี้ ได้หักพังลงเหลือเพียงส่วนด้านทิศเหนือและทิศตะวันตกเท่านั้น ลักษณะแผนผังปราสาทจะคงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยมีการย่อมุมด้านข้างของเช่นเดียวกับปราสาททั้งสี่ด้าน ในส่วนฐาน เรือนธาตุ และส่วนยอด ได้ประธานแต่มีการชำรุดหักพังทลายลงไปมากขนาดเล็กกว่า แต่เราก็ยังเห็นผังปราสาทที่ปรากฏอยู่โดยจะมีประตูทางเดินเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็น[[ประตูหลอก]]สลักปิดทึบไว้ ส่วนเรือนธาตุแม้จะหักพังลงมา ยังเห็นส่วนยอดที่เป็นพินทุและชั้นภูมิต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ส่วนฐาน มีฐานซ้อนกันอย่างน้อย 2 ชั้น[[http://photos2.hi5.com/0057/846/765/jSmBq7846765-02.jpg]]
'''ปราสาททิศใต้'''
 
ก่อด้วย[[ศิลาแลง]] อยู่ทางทิศใต้ของปราสาทประธานองค์กลาง มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมเช่นเดียวกับปราสาทองค์อื่นและคงมีขนาดสูงใหญ่เช่นเดียวกับปราสาททิศเหนือ โดยยังคงไว้ซึ่งองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของส่วนยอดหรือ[[ศิขระ]] ได้ค่อนข้างสมบูรณ์ ส่วน[[เรือนธาตุ]]และฐานบางส่วนได้รับการบูรณะซ่อมแซมขึ้นใหม่ในสมัยหลัง มีทางเดินประตูเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็น[[ประตูหลอก]]ปิดทึบไว้ ที่สันของ[[ประตูหลอกพบ]]ปั้นปูนเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางประทานอภัยทั้งสองด้าน ปัจจุบันชำรุดไปมากเหลือเพียงส่วนโกลนของ[[ศิลาแลง ส่วนฐานและส่วนเรือนธาตุบางส่วนขององค์ปรางค์นี้ได้ถูกซ่อมแซมขึ้นใหม่ในสมัยหลัง ส่วนเรือนธาตุเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ส่วนยอดเป็นหลังคาซ้อนชั้นกันขึ้นไปเหมือนองค์อื่น และยังเหลือนาคปัก กลีบขนุนไว้ตามมุมอาคาร ยอดพินทุ บัวกลุ่มและชั้นภูมิต่างๆ ยังคงอยู่ ส่วนฐานซ้อนอย่างน้อย 2 ชั้น]][[http://photos4.hi5.com/0059/449/491/v5RrTN449491-02.jpg]]
'''ปราสาททิศตะวันตก'''
ตั้งอยู่ด้านหลังของปราสาทประธานทางด้านทิศตะวันตก ปัจจุบันอยู่ในแกนเดียวกันของปราสาทสภาพพังทลายลงมาเกือบหมด เหลือเพียงผนังทางด้านทิศตะวันออก เหนือและส่วนฐานซึ่งมีความสูงกว่าปราสาททุกองค์นี้เท่านั้น ลักษณะคล้ายกับปราสาททางด้านทิศเหนือและทิศใต้จะ มีประตูทางเดินเข้าอยู่ทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็น[[ประตูหลอกปิดทึบไว้ ปรางค์หลังนี้ มีฐานที่ค่อนข้างสูง ปัจจุบันปรางค์หลังนี้ได้พังทลายลงมาเกือบหมดแล้ว เหลือเพียงผนังทางด้านทิศเหนือและส่วนฐานเท่านั้น]][[http://photos2.hi5.com/0058/576/253/9kTQ5W576253-02.jpg]]
'''กำแพงศิลาแลง'''
 
ก่อด้วย[[ศิลาแลง]] ล้อมรอบกลุ่มโบราณสถานปราสาทและสระน้ำไว้ภายใน ที่กึ่งกลางของกำแพงแก้ว[[ศิลาแลง]]ทั้ง 4 ด้านเจาะมีประตูทางเข้าออกด้านละ 1 ประตู ด้านบนของสันกำแพง จะมีประดับด้วย[[บราลี ประดับอยู่ทั้งกำแพง]][[ศิลาแลง]][[http://photos2.hi5.com/0062/398/921/wAhp2Y398921-02.jpg]]
'''สระน้ำ'''
 
ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกลุ่มโบราณสถานปราสาทภายในเขตของกำแพงแก้ว เป็นสระน้ำกรุด้วย[[ศิลาแลงจำนวน 1 สระ]] ปัจจุบันถูกทับถมไปถมไปแล้ว
 
== ลวดลายปูนปั้น ==