ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ปุจฉา-วิสัชนา/สังคมศาสตร์และประวัติศาสตร์/กรุ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
The ilovewasa (คุย | ส่วนร่วม)
ถามมาสองคำถาม ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกันเลย ต้องแยกเป็นสองคำถามครับ
The ilovewasa (คุย | ส่วนร่วม)
ตอบคำถาม
บรรทัด 397:
 
คุณคิดว่าความเชื่อในสิ่งที่เป็น[[รูปธรรม]]กับสิ่งที่ไม่เป็นรูปธรรม มนุษย์คลั่งไคล้อะไรมากกว่ากัน
 
เมื่อถามมาว่า "คุณคิดว่า..."
ก็แสดงว่าต้องการถามความคิดเห็นจากผู้อื่น
ซึ่งผมจะตอบว่า...
 
ความเชื่อที่เป็น[[นามธรรม]]นั้น คนมักจะไม่ค่อยเชื่อเท่าไรนัก...
เว้นเสียแต่ว่าจะมีการยกตัวอย่างหรือมีการเปรียบเทียบให้รู้แจ้งเห็นจริง...
หรือ เว้นเสียแต่ว่าจะมีตัวอย่างที่เป็นของจริง(เป็นรูปธรรม)ที่สามารถสัมผัสหรือจับต้องได้...
 
รวมไปถึง [[พระไตรปิฎก]], [[คัมภีร์อัลกุรอาน]], [[คัมภีร์ไบเบิล]], ฯลฯ
 
ก็น่าจะมีกลวิธีต่างๆ แฝงอยู่ในหลักคำสอนทางศาสนา
ดังเช่นที่กล่าวมาแล้ว
เพื่อให้ผู้คนเลื่อมใสศรัทธา
เช่น จะมีการยกตัวอย่างให้เห็นชัด
หรือมีการเปรียบเทียบให้รู้แจ้งเห็นจริง...
 
แต่ในที่นี้นั้น
ไม่ได้หมายความว่าบางหลัก[[ศาสนา]]จะมีการหลอกลวง
ไม่ได้หมายความว่าบางหลักศาสนาจะมีการโกหก
 
เพียงแต่ว่า บางลัทธิ ที่เป็น[[ลัทธิ]]ลวงโลก
ก็จะมีการโน้มน้าวใจกันเกินความจำเป็น
เพื่อให้ลัทธิลวงโลกประสบความสำเร็จ
และมีผู้คนงมงายหลงเชื่อ...
 
หรืออย่าง[[วิทยาศาสตร์เทียม]] หรือที่เรียกกันว่า วิทย์เก๊
ก็จะมีการโน้มน้าวใจกันเกินความจำเป็น
หรือหลอกลวงให้ผู้ซื้อสินค้าหัวปั่น
และอาจจะยอมซื้อสินค้าต่างๆ ที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง
หรือสินค้าที่เขียนสรรพคุณต่างๆอย่างหลอกลวงและแหกตาประชาชน...ได้ในที่สุด
 
งานนี้ขอสรุปว่า...
คนมักจะหลงเชื่อในนามธรรม
ถ้าหากว่านามธรรมนั้นแสดงออกมาได้อย่างน่าเชื่อถือ
แต่ในที่สุดแล้ว
หากว่ามีหลักฐานเป็นรูปธรรม
ที่สามารถนำมาหักล้างหลักความเชื่อที่ผิดได้แล้วละก็...
แล้วแต่สถานการณ์ครับ และก็
แล้วแต่บุคคลด้วยครับ
 
เช่นว่าประเด็นที่เห็นชัด เช่นว่า
สินค้า B เป็นสินค้าที่อวดอ้างสรรพคุณแบบแหกตาประชาชน ทำให้เสียเงินฟรี
สินค้า H เป็นสินค้าที่ลอกเลียนแบบมาแค่ภาชนะบรรจุและฉลาก แต่ความจริงมีแต่สารอันตราย ใช้แล้วไม่ทำให้หน้าขาวขึ้นจริง
เป็นต้น
ประชาชนทราบแล้วก็จะไม่หลงเชื่อไปซื้ออีก
 
แต่หากเป็นลัทธิความเชื่อ หรือลัทธิของบางศาสนาในโลกนี้ ซึ่งอาจไม่เหมาะสมกับระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง
หรืออาจมีความเกินจริง
เช่น ความเชื่อเรื่องผี
ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์
ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าต่างๆ ซึ่งบางครั้งอาจจะไม่มีอยู่จริง
รวมไปถึงลัทธิบูชายัญต่างๆ
สิ่งเหล่านี้ จะทำให้ชาวโลกทั้งหมดเลิกนับถือนั้น ย่อมเป็นไปไม่ได้โดยสิ้นเชิง
เพราะว่าเป็นความเชื่อทางศาสนาหรือลัทธิต่างๆ
ไม่ได้เป็นเรื่องของการหลอกลวงประชาชนเพื่อการค้าหรือเพื่อการเมืองแต่อย่างใด...