ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดกำแพงแลง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''== สถานที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพ''' ==
 
วัดกำแพงแลง หรือวัดเทพปราสาทศิลาแลง ตั้งอยู่ในเขตตำบลท่าราบ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี โดยวัดแห่งนี้ตั้งอยู่ห่างแม่น้ำเพชรบุรีมาทางตะวันออกประมาณ 1 กิโลเมตร ชื่อดั้งเดิมของวัดกำแพงแลงนั้นไม่มีผู้ใดทราบแน่ชัด ชื่อที่เรียกกันว่า “กำแพงแลง” นั้นคงเป็นชื่อที่ผู้คนในสมัยหลังเรียกกันตามลักษณะที่พบเห็น เนื่องจากที่วัดแห่งนี้พบโบราณสถาน เป็นปรางค์ 5 หลังก่อด้วยศิลาแลงและมีกำแพงล้อมรอบที่ทำด้วยศิลาแลงทั้งหมด จากลักษณะดังกล่าวจึงน่าจะเป็นที่มาของชื่อวัดนี้ว่า กำแพงแลง ซึ่งหมายถึงกำแพงที่ก่อด้วยศิลาแลงนั่นเอง
ลักษณะทางกายภาพวัดแห่งนี้แบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากัมฐาน และพื้นที่สำหรับการทำสังฆกรรมโดยทั่วไป ส่วนของโบราณสถานที่พบ อยู่ในส่วนของพื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากัมฐาน โดยพื้นที่โบราณสถานมีเขตของกำแพงศิลาแลงกั้น ส่วนพื้นที่ทำสังฆกรรมอยู่กำแพงศิลาแลง
 
ลักษณะทางกายภาพวัดแห่งนี้แบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากัมฐาน และพื้นที่สำหรับการทำสังฆกรรมโดยทั่วไป ส่วนของโบราณสถานที่พบ อยู่ในส่วนของพื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากัมฐาน โดยพื้นที่โบราณสถานมีเขตของกำแพงศิลาแลงกั้น ส่วนพื้นที่ทำสังฆกรรมอยู่กำแพงศิลาแลง
'''ประวัติความเป็นมา'''
 
แต่เดิมวัดกำแพงแลงเป็นวัดร้าง มีชาวจีนเข้ามาอาศัยอยู่โดยเช่าที่ดินจากกรมศาสนาเพื่อใช้ในการทำสวน ต่อมาเมื่อตั้งเป็นวัดมีพระสงฆ์จำพรรษา ผู้ที่อาศัยอยู่จึงอพยพออกไป และพระภิกษุในวัดได้ทำหน้าที่ดูแลรักษาวัดและโบราณสถาน โบราณสถานที่พบขึ้นทะเบียนในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 ปัจจุบันวัดแห่งนี้ตั้งเป็นสำนักปฏิบัติวิปัสสนากัมฐาน ในปี พ.ศ. 2497 และมีการเปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดเทพปราสาทศิลาแลง
 
 
== ประวัติความเป็นมา ==
 
แต่เดิมวัดกำแพงแลงเป็นวัดร้าง มีชาวจีนเข้ามาอาศัยอยู่โดยเช่าที่ดินจากกรมศาสนาเพื่อใช้ในการทำสวน ต่อมาเมื่อตั้งเป็นวัดมีพระสงฆ์จำพรรษา ผู้ที่อาศัยอยู่จึงอพยพออกไป และพระภิกษุในวัดได้ทำหน้าที่ดูแลรักษาวัดและโบราณสถาน โบราณสถานที่พบขึ้นทะเบียนในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 ปัจจุบันวัดแห่งนี้ตั้งเป็นสำนักปฏิบัติวิปัสสนากัมฐาน ในปี พ.ศ. 2497 และมีการเปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดเทพปราสาทศิลาแลง
 
'''ลักษณะทางสถาปัตยกรรม'''
== ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ==
''การวางผังของโบราณสถาน''
 
ผังของโบราณสถานแห่งนี้ มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง ผังทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก
'''แผนผัง'''
แผนผังการวางผังของปราสาท พบปราสาททั้งหมด 4 หลัง และโคปุระ 1 หลัง (ประตูทางเข้าที่มียอดเป็นปราสาท) รวมเป็นปราสาททั้งหมด 5 หลัง มีการวางตัวของปราสาทองค์ประธานพบปราสาทอีกหนึ่งหลังอยู่ด้านหลังปราสาทประธานพอดี ทางด้านทิศตะวันออกพบโคปุระ 1 หลัง โบราณสถานทั้งหมด ล้อมรอบด้วยกำแลงศิลาแลง ภายในกำแพงยังพบสระน้ำอยู่ทางตะวันออก อยู่ชิดขอบกำแพงทางทิศตะวันออก[[http://photos2.hi5.com/0056/586/877/JP819c586877-02.jpg]]
 
ปราสาทวัดกำแพงแลงมีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง ผังทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แผนผังการวางผังของปราสาท พบปราสาททั้งหมด 4 หลัง และโคปุระ 1 หลัง (ประตูทางเข้าที่มียอดเป็นปราสาท)เป็นปราสาทแบบเขมร ปราสาททั้งหมดล้อมรอบด้วยกำแลงศิลาแลง อันเป็นที่มาของชื่อ กำแพงแลง ภายในกำแพงยังพบสระน้ำอยู่ทางตะวันออก อยู่ชิดขอบกำแพงทางทิศตะวันออก[[http://photos2.hi5.com/0056/586/877/JP819c586877-02.jpg]]
'''โคปุระ'''
'''แผนผังวัดกำแพงแลง'''
 
'''ลักษณะสำคัญของโบราณสถาน'''
โคปุระหรือปราสาททิศตะวันออก (โคปุระเป็นซุ้มประตูทางเข้าที่มียอดเป็นปราสาท จึงมีนักวิชาการบางกลุ่มเรียกโคปุระว่า ปราสาททิศตะวันออก) ก่อด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ในแกนเดียวกับปราสาททิศตะวันตก ลักษณะแผนผังของโคปุระ [[http://photos2.hi5.com/0062/520/321/E3xV.D520321-02.jpg]]
ลักษณะของโบราณสถานที่พบ มีองค์ประกอบหลักคือส่วนของเรือนฐาน ส่วนตัวโคปุระนั้น จะพบส่วนของมุขยื่นออกมาทั้ง 4 ทิศด้วย โดยองค์ประกอบของปราสาทโบราณสถานวัดกำแพงแลงนี้สามารถเทียบได้กับแผนภาพแสดงองค์ประกอบปรางค์แบบเขมร
 
ส่วนเรือนธาตุ เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมีมุขยื่นออกมาทั้ง 4 ทิศ บนสันหลังคามุขที่ยื่นออกมาพบบราลี ลักษณะของมุขที่ยื่นออกมาจะลดลั่นเป็น 2 ชั้น ถึงแม้จะมีมุขยื่นออกมาทั้งสี่ชั้น แต่ทางเข้านั้นมีเพียงทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเท่านั้น ส่วนประตูทางทิศเหนือและทิศใต้เป็นประตูหลอกปิดทึบ มุขแต่ละด้านมีหน้าต่างหลอกแบบลูกกรงมะหวดที่ส่วนผนังด้านข้างด้านละ 1 แห่ง สลักทึบครึ่งหนึ่งให้เห็นลูกกรงมะหวดเพียงครึ่งเดียว รอบปราสาทพบลายบัวเชิงผนัง
 
ส่วนยอด ในส่วนของปลายหลังคา ยังหลงเหลือนาคปัก กลีบขนุนตามมุมปราสาทและส่วนยอดยังคงเหลือพินทุ บัวกลุ่มรองรับพินทุและส่วนของชั้นภูมิไว้อย่างสมบูรณ์
 
ส่วนฐาน มีผังเป็นรูปกากบาทตัดกัน เป็นฐานทรงเตี้ย เพื่อสำหรับการเดินเข้าอย่างสะดวก
 
''โคปุระ'' โคปุระหรือปราสาททิศตะวันออก (โคปุระเป็นซุ้มประตูทางเข้าที่มียอดเป็นปราสาท จึงมีนักวิชาการบางกลุ่มเรียกโคปุระว่า ปราสาททิศตะวันออก) ก่อด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ในแกนเดียวกับปราสาททิศตะวันตก ลักษณะแผนผังของโคปุระ [[http://photos2.hi5.com/0062/520/321/E3xV.D520321-02.jpg]]
ส่วนเรือนธาตุ เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมีมุขยื่นออกมาทั้ง 4 ทิศ บนสันหลังคามุขที่ยื่นออกมาพบบราลี ลักษณะของมุขที่ยื่นออกมาจะลดลั่นเป็น 2 ชั้น ถึงแม้จะมีมุขยื่นออกมาทั้งสี่ชั้น แต่ทางเข้านั้นมีเพียงทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเท่านั้น ส่วนประตูทางทิศเหนือและทิศใต้เป็นประตูหลอกปิดทึบ มุขแต่ละด้านมีหน้าต่างหลอกแบบลูกกรงมะหวดที่ส่วนผนังด้านข้างด้านละ 1 แห่ง สลักทึบครึ่งหนึ่งให้เห็นลูกกรงมะหวดเพียงครึ่งเดียว รอบปราสาทพบลายบัวเชิงผนัง
ส่วนยอด ในส่วนของปลายหลังคา ยังหลงเหลือนาคปัก กลีบขนุนตามมุมปราสาทและส่วนยอดยังคงเหลือพินทุ บัวกลุ่มรองรับพินทุและส่วนของชั้นภูมิไว้อย่างสมบูรณ์
ส่วนฐาน มีผังเป็นรูปกากบาทตัดกัน เป็นฐานทรงเตี้ย เพื่อสำหรับการเดินเข้าอย่างสะดวก
ปัจจุบันที่โคปุระไม่พบลวดลายปูนปั้นหลงเหลืออยู่แล้ว คงเหลือแต่ปูนฉาบอยู่ด้านนอกเพื่อความแข็งแรงเท่านั้นเท่านั้น
''ปราสาทประธาน'' ก่อด้วยศิลาแลง เป็นสถาปัตยกรรมหลัก ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนฐาน ส่วนเรือนธาตุ และส่วนยอด
'''ปราสาทประธาน'''
 
ก่อด้วยศิลาแลง เป็นสถาปัตยกรรมหลัก ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนฐาน ส่วนเรือนธาตุ และส่วนยอด
ส่วนของเรือนธาตุเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมซ้อนชั้นกันอย่างน้อย 2-3 ชั้น มีประตูทางเข้าทั้ง 4 ทิศ และที่ประตูทางเข้านี้ มีร่องรอยของซุ้มประตูเหลืออยู่ เป็นซุ้มโค้งยื่นออกมา ส่วนยอดได้หักพังลงมาแล้ว แต่ยังคงหลงเหลือชั้นภูมิและชั้นอัสดงอยู่ พบนาคปักและกลีบขนุนตามมุมอาคารส่วนยอดอยู่ ทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกของปราสาทยังมีลวดลายปูนปั้นหลงเหลืออยู่ในส่วนของหน้าบันและเสาส่วนฐาน มีฐานซ้อนกันอย่างน้อย 2 ชั้น [[http://photos3.hi5.com/0058/246/458/sLHNqe246458-02.jpg]]
'' ปราสาททิศเหนือ'' ก่อด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของปราสาทประธาน โดยตั้งอยู่ในแกนเดียวกัน 3 องค์ คือ ปราสาททิศเหนือ ปราสาทประธาน ปราสาททิศใต้ ปัจจุบันปราสาทหลังนี้ ได้หักพังลงเหลือเพียงส่วนด้านทิศเหนือและทิศตะวันตกเท่านั้น ลักษณะแผนผังปราสาทจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยมีการย่อมุมด้านข้างของปราสาททั้งสี่ด้าน ในส่วนฐาน เรือนธาตุ และส่วนยอด ได้มีการชำรุดหักพังทลายลงไปมาก แต่เราก็ยังเห็นผังปราสาทที่ปรากฏอยู่โดยจะมีทางเดินเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็นประตูหลอกสลักปิดทึบไว้ ส่วนเรือนธาตุแม้จะหักพังลงมา ยังเห็นส่วนยอดที่เป็นพินทุและชั้นภูมิต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ส่วนฐาน มีฐานซ้อนกันอย่างน้อย 2 ชั้น[[http://photos2.hi5.com/0057/846/765/jSmBq7846765-02.jpg]]
'''ปราสาททิศเหนือ'''
''ปราสาททิศใต้'' ก่อด้วยศิลาแลง อยู่ทางทิศใต้ของปราสาทประธานองค์กลาง ลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม มีทางเดินเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็นประตูหลอกปิดทึบไว้ ที่ประตูหลอกพบพระพุทธรูปปูนปั้นทั้งสองด้าน ปัจจุบันชำรุดไปมากเหลือเพียงส่วนโกลนของศิลาแลง ส่วนฐานและส่วนเรือนธาตุบางส่วนขององค์ปรางค์นี้ได้ถูกซ่อมแซมขึ้นใหม่ในสมัยหลัง ส่วนเรือนธาตุเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ส่วนยอดเป็นหลังคาซ้อนชั้นกันขึ้นไปเหมือนองค์อื่น และยังเหลือนาคปัก กลีบขนุนไว้ตามมุมอาคาร ยอดพินทุ บัวกลุ่มและชั้นภูมิต่างๆ ยังคงอยู่ ส่วนฐานซ้อนอย่างน้อย 2 ชั้น[[http://photos4.hi5.com/0059/449/491/v5RrTN449491-02.jpg]]
''ปราสาททิศตะวันตก'' ตั้งอยู่ด้านหลังของปราสาทประธาน ในแกนเดียวกันของปราสาททิศตะวันออก ซึ่งปราสาทองค์นี้คล้ายกับปราสาททางด้านทิศเหนือและทิศใต้จะมีทางเดินเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็นประตูหลอกปิดทึบไว้ ปรางค์หลังนี้ มีฐานที่ค่อนข้างสูง ปัจจุบันปรางค์หลังนี้ได้พังทลายลงมาเกือบหมดแล้ว เหลือเพียงผนังทางด้านทิศเหนือและส่วนฐานเท่านั้น[[http://photos4.hi5.com/0059/449/491/v5RrTN449491-02.jpg]]
''กำแพงแก้ว'' ก่อด้วยศิลาแลง ล้อมรอบกลุ่มโบราณสถานและสระน้ำไว้ภายใน ที่กึ่งกลางกำแพงแก้วทั้ง 4 ด้านเจาะประตูเข้าออกด้านละ 1 ประตู ด้านบนของกำแพง จะมีบราลี ประดับอยู่ทั้งกำแพง
''สระบาราย'' ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกลุ่มโบราณสถานภายในเขตของกำแพงแก้ว เป็นสระน้ำกรุด้วยศิลาแลงจำนวน 1 สระ ปัจจุบันถูกทับถมไปแล้ว
 
ก่อด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของปราสาทประธาน โดยตั้งอยู่ในแกนเดียวกัน 3 องค์ คือ ปราสาททิศเหนือ ปราสาทประธาน ปราสาททิศใต้ ปัจจุบันปราสาทหลังนี้ ได้หักพังลงเหลือเพียงส่วนด้านทิศเหนือและทิศตะวันตกเท่านั้น ลักษณะแผนผังปราสาทจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยมีการย่อมุมด้านข้างของปราสาททั้งสี่ด้าน ในส่วนฐาน เรือนธาตุ และส่วนยอด ได้มีการชำรุดหักพังทลายลงไปมาก แต่เราก็ยังเห็นผังปราสาทที่ปรากฏอยู่โดยจะมีทางเดินเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็นประตูหลอกสลักปิดทึบไว้ ส่วนเรือนธาตุแม้จะหักพังลงมา ยังเห็นส่วนยอดที่เป็นพินทุและชั้นภูมิต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ส่วนฐาน มีฐานซ้อนกันอย่างน้อย 2 ชั้น[[http://photos2.hi5.com/0057/846/765/jSmBq7846765-02.jpg]]
'''การประดับตกแต่ง'''
จากการที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นแล้วว่าปราสาทที่พบทั้งหมดนั้น ก่อสร้างด้วยศิลาแลง ซึ่งคุณสมบัติของศิลาแลงจะมีความแข็ง แต่มีรูพรุนไม่สามารถจะนำแกะสลักได้ ดังนั้นเมื่อมีการสร้างเสร็จจะมีการฉาบปูนทั่วทั้งปราสาทประมาณสองรอบเมื่อฉาบปูนเสร็จก็จะมีการทำลวดลายต่างๆ ด้วยปูนปั้นประดับตามตัวปราสาท ซึ่งจากการศึกษาของเหล่านักวิชาการนั้นพบว่าร่องรอยลวดลายที่ปรากฏอยู่บนตัวปราสาทนั้นเป็นลวดลายคล้ายกับศิลปะแบบบายน
'''ปราสาททิศใต้'''
ลวดลายปูนปั้นนั้น พบที่ปราสาทองค์กลางมากที่สุดและยังมีหลงเหลือที่ปราสาททิศใต้อีกเล็กน้อย ลักษณะลวดลายมีดังต่อไปนี้
 
''ลวดลายปูนปั้นปราสาทองค์กลาง''
ก่อด้วยศิลาแลง อยู่ทางทิศใต้ของปราสาทประธานองค์กลาง ลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม มีทางเดินเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็นประตูหลอกปิดทึบไว้ ที่ประตูหลอกพบพระพุทธรูปปูนปั้นทั้งสองด้าน ปัจจุบันชำรุดไปมากเหลือเพียงส่วนโกลนของศิลาแลง ส่วนฐานและส่วนเรือนธาตุบางส่วนขององค์ปรางค์นี้ได้ถูกซ่อมแซมขึ้นใหม่ในสมัยหลัง ส่วนเรือนธาตุเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ตั้งบนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ส่วนยอดเป็นหลังคาซ้อนชั้นกันขึ้นไปเหมือนองค์อื่น และยังเหลือนาคปัก กลีบขนุนไว้ตามมุมอาคาร ยอดพินทุ บัวกลุ่มและชั้นภูมิต่างๆ ยังคงอยู่ ส่วนฐานซ้อนอย่างน้อย 2 ชั้น[[http://photos4.hi5.com/0059/449/491/v5RrTN449491-02.jpg]]
พบอยู่บริเวณด้านหลังของปราสาท ลวดลายที่เหลืออยู่ คือ บริเวณหน้าบัน บริเวณลายลวดบัวหัวเสา บัวผนังเชิง และกลีบขนุน
จากลวดลายข้างต้นสามารถนำมาเปรียบเทียบกับลวดลายจากปราสาทบายน ซึ่งเป็นปราสาทสมัยบายน สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (มีอายุเวลาในช่วง พ.ศ.1720-1773) โดยสามารถนำมาเปรียบเทียบลวดลายได้ดังนี้
'''ปราสาททิศตะวันตก'''
''ลวดบัวหัวเสา'' เป็นลวดลายประดับในบริเวณขอบหัวเสาค้ำยันอาคาร ประกอบด้วยลวดลายเส้นลวด และลายหน้ากระดานต่างๆ
ตั้งอยู่ด้านหลังของปราสาทประธาน ในแกนเดียวกันของปราสาททิศตะวันออก ซึ่งปราสาทองค์นี้คล้ายกับปราสาททางด้านทิศเหนือและทิศใต้จะมีทางเดินเข้าทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส่วนด้านทิศเหนือและใต้ ได้ทำเป็นประตูหลอกปิดทึบไว้ ปรางค์หลังนี้ มีฐานที่ค่อนข้างสูง ปัจจุบันปรางค์หลังนี้ได้พังทลายลงมาเกือบหมดแล้ว เหลือเพียงผนังทางด้านทิศเหนือและส่วนฐานเท่านั้น[[http://photos4.hi5.com/0059/449/491/v5RrTN449491-02.jpg]]
'''กำแพงศิลาแลง'''
 
ก่อด้วยศิลาแลง ล้อมรอบกลุ่มโบราณสถานและสระน้ำไว้ภายใน ที่กึ่งกลางกำแพงแก้วทั้ง 4 ด้านเจาะประตูเข้าออกด้านละ 1 ประตู ด้านบนของกำแพง จะมีบราลี ประดับอยู่ทั้งกำแพง
'''สระน้ำ'''
 
ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกลุ่มโบราณสถานภายในเขตของกำแพงแก้ว เป็นสระน้ำกรุด้วยศิลาแลงจำนวน 1 สระ ปัจจุบันถูกทับถมไปแล้ว
 
 
== ลวดลายปูนปั้น ==
 
เนื่องจากปราสาทวัดกำแพงแลงก่อสร้างด้วยศิลาแลง ซึ่งคุณสมบัติของศิลาแลงจะมีความแข็ง แต่มีรูพรุนไม่สามารถจะนำแกะสลักได้ ดังนั้นเมื่อมีการสร้างเสร็จจะมีการฉาบปูนทั่วทั้งปราสาทประมาณสองรอบเมื่อฉาบปูนเสร็จก็จะมีการทำลวดลายต่างๆ ด้วยปูนปั้นประดับตามตัวปราสาท ซึ่งจากการศึกษาของเหล่านักวิชาการนั้นพบว่าร่องรอยลวดลายที่ปรากฏอยู่บนตัวปราสาทนั้นเป็นลวดลายคล้ายกับศิลปะเขมรแบบบายน (พ.ศ. 1720 - 1733)
 
ลวดลายปูนปั้นนั้น พบที่ปราสาทองค์กลางมากที่สุดและยังมีหลงเหลือที่ปราสาททิศใต้อีกเล็กน้อย ลักษณะลวดลายมีดังต่อไปนี้
'''ลวดลายปูนปั้นปราสาทองค์กลาง'''
 
พบอยู่บริเวณด้านหลังของปราสาท ลวดลายที่เหลืออยู่ คือ บริเวณหน้าบัน บริเวณลายลวดบัวหัวเสา บัวผนังเชิง และกลีบขนุน จากลวดลายข้างต้นสามารถนำมาเปรียบเทียบกับลวดลายจากปราสาทบายน ซึ่งเป็นปราสาทสมัยบายน สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (มีอายุเวลาในช่วง พ.ศ.1720-1773) โดยสามารถนำมาเปรียบเทียบลวดลายได้ดังนี้
''ลวดบัวหัวเสา'' เป็นลวดลายประดับในบริเวณขอบหัวเสาค้ำยันอาคาร ประกอบด้วยลวดลายเส้นลวด และลายหน้ากระดานต่างๆ
ลวดลายตกแต่งบริเวณหัวเสาที่พบ[[http://photos4.hi5.com/0063/916/143/b1Kmif916143-02.jpg]]
''บัวเชิงผนัง'' เป็นลวดลายประดับในบริเวณขอบส่วนบนและส่วนล่างของอาคารสถาปัตยกรรมเขมร ลักษณะเป็นเส้นลวดคาด ประมาณ 2 - 3 ชั้น คั่นด้วยลายหน้ากระดาน ตัวอย่างลวดลายบัวเชิงผนังปราสาทแห่งนี้ ได้แก่[[http://photos1.hi5.com/0056/800/920/1spU9K800920-02.jpg]]
''บัวเชิงผนัง''เป็นลวดลายประดับในบริเวณขอบส่วนบนและส่วนล่างของอาคารสถาปัตยกรรมเขมร ลักษณะเป็นเส้นลวดคาด ประมาณ 2 - 3 ชั้น คั่นด้วยลายหน้ากระดาน ตัวอย่างลวดลายบัวเชิงผนังปราสาทแห่งนี้ ได้แก่[[http://photos1.hi5.com/0056/800/920/1spU9K800920-02.jpg]]
''หน้าบัน'' เป็นลวดลายประดับเหนือซุ้มประตู เป็นส่วนที่อยู่เชื่อมต่อกับเสา ซึ่งจะติดอยู่กับทับหลังหรือผนัง เพื่อปิดโครงสร้างของอิฐกรอบซุ้มประตูดังกล่าว[[http://photos1.hi5.com/0056/800/920/1spU9K800920-02.jpg]][[http://photos2.hi5.com/0061/500/641/2dDsSR500641-02.jpg]]
การเปรียบเทียบลวดลายบริเวณหน้าบันจากปราสาทบายน และปราสาทวัดกำแพงแลง ซึ่งจะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของลวดลายนั้น เหมือนกับที่พบที่ปราสาทบายน เห็นได้ชัดจากส่วนของใบระกา ลักษณะเป็นปลายแหลมสอบขึ้น แต่เนื่องจากฝีมือช่างของปราสาทแห่งนี้ เป็นฝีมือช่างพื้นบ้านจึงอาจมีลักษณะที่ต่างออกไป นอกจากนี้ ปลายหน้าบันยังเป็นรูปพญานาค 5 เศียร สวมกระบังหน้า ซึ่งเป็นอิทธิพลในช่วงปลายศิลปะสมัยนครวัด ที่ยังคงส่งอิทธิพลต่อศิลปะสมัยบายน แต่ที่ปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ ฝีมือช่างอาจต่างกันเนื่องจากเป็นฝีมือช่างพื้นบ้าน
''หน้าบัน'' เป็นลวดลายประดับเหนือซุ้มประตู เป็นส่วนที่อยู่เชื่อมต่อกับเสา ซึ่งจะติดอยู่กับทับหลังหรือผนัง เพื่อปิดโครงสร้างของอิฐกรอบซุ้มประตูดังกล่าว[[http://photos1.hi5.com/0056/800/920/1spU9K800920-02.jpg]][[http://photos2.hi5.com/0061/500/641/2dDsSR500641-02.jpg]]
''กลีบขนุน'' องค์ประกอบตกแต่งที่ประดับที่แทรกอยู่ระหว่างชั้นภูมิ ตรงตำแหน่งมุมที่ย่อของแต่ละชั้น กลีบขนุนที่พบที่ปราสาทวัดกำแพงแลงแห่งนี้ ไม่หลงเหลือลวดลายปูนปั้นแล้ว แต่ชิ้นส่วนกลีบขนุนปราสาทวัดกำแพงแลงที่กระจายไปเก็บไว้ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบุรีนั้น ยังคงหลงเหลือลวดลายปูนปั้นอยู่ โดยกลีบขนุนที่พบเป็นรูปของบุคคลเพศชายอยู่ในซุ้มเรือนแก้ว ภูษาของรูปบุคคลนั้นมีการนุ่งผ้าสมพตแบบประติมากรรมบุรุษของบายน คือ มีการชักชายผ้าออกมาด้านข้าง ห้อยเฟื่องอุบะคาด [[http://photos2.hi5.com/0060/717/937/hFe9xu717937-02.jpg]]
การเปรียบเทียบลวดลายบริเวณหน้าบันจากปราสาทบายน และปราสาทวัดกำแพงแลง ซึ่งจะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของลวดลายนั้น เหมือนกับที่พบที่ปราสาทบายน เห็นได้ชัดจากส่วนของใบระกา ลักษณะเป็นปลายแหลมสอบขึ้น แต่เนื่องจากฝีมือช่างของปราสาทแห่งนี้ เป็นฝีมือช่างพื้นบ้านจึงอาจมีลักษณะที่ต่างออกไป นอกจากนี้ ปลายหน้าบันยังเป็นรูปพญานาค 5 เศียร สวมกระบังหน้า ซึ่งเป็นอิทธิพลในช่วงปลายศิลปะสมัยนครวัด ที่ยังคงส่งอิทธิพลต่อศิลปะสมัยบายน แต่ที่ปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ ฝีมือช่างอาจต่างกันเนื่องจากเป็นฝีมือช่างพื้นบ้าน
''กลีบขนุน'' องค์ประกอบตกแต่งที่ประดับที่แทรกอยู่ระหว่างชั้นภูมิ ตรงตำแหน่งมุมที่ย่อของแต่ละชั้น กลีบขนุนที่พบที่ปราสาทวัดกำแพงแลงแห่งนี้ ไม่หลงเหลือลวดลายปูนปั้นแล้ว แต่ชิ้นส่วนกลีบขนุนปราสาทวัดกำแพงแลงที่กระจายไปเก็บไว้ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบุรีนั้น ยังคงหลงเหลือลวดลายปูนปั้นอยู่ โดยกลีบขนุนที่พบเป็นรูปของบุคคลเพศชายอยู่ในซุ้มเรือนแก้ว ภูษาของรูปบุคคลนั้นมีการนุ่งผ้าสมพตแบบประติมากรรมบุรุษของบายน คือ มีการชักชายผ้าออกมาด้านข้าง ห้อยเฟื่องอุบะคาด [[http://photos2.hi5.com/0060/717/937/hFe9xu717937-02.jpg]]
 
'''ลวดลายปูนปั้นปราสาททิศใต้'''
พบเป็นลวดลายปูนปั้นรูปพระพุทธรูปในประตูหลอกด้านทิศใต้และทิศเหนือของปราสาท จากการสันนิษฐานเชื่อว่าพระพุทธรูปปูนปั้นดังกล่าว สร้างขึ้นในสมัยหลังจากการสร้างตัวปราสาทหลังนี้ ลวดลายปูนปั้นได้แก่
ปูนปั้นพระพุทธรูปด้านทิศใต้ของปราสาท ปางประทานพรพระหัตถ์ขวา ส่วนพระหัตถ์ซ้ายถือชายจีวร เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นที่ปั้นอยู่บนแกนประตูหลอกแสดงให้เห็นว่าปราสาททั้งสามหลังนี้ ไม่เชื่อมต่อกัน[[http://photos3.hi5.com/0062/232/914/2xpl3N232914-02.jpg]]
ปูนปั้นพระพุทธรูปด้านทิศเหนือของปราสาท ลวดลายหลุดออกไปมาก ไม่สามารถกำหนดได้ว่าเป็นปางใด แต่ก็ยังเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นที่ปั้นอยู่บนแกนประตูหลอกแสดงให้เห็นว่าปราสาททั้งสามหลังนี้ ไม่เชื่อมต่อกัน[[http://photos2.hi5.com/0060/740/981/zMHpJF740981-02.jpg]]
 
พบเป็นลวดลายปูนปั้นรูปพระพุทธรูปในประตูหลอกด้านทิศใต้และทิศเหนือของปราสาท จากการสันนิษฐานเชื่อว่าพระพุทธรูปปูนปั้นดังกล่าว สร้างขึ้นในสมัยหลังจากการสร้างตัวปราสาทหลังนี้ ลวดลายปูนปั้นได้แก่
'''ประติมากรรมที่พบ'''
โบราณวัตถุสำคัญที่พบ พบทั้งหมด 5 ชิ้น ได้แก่
ปูนปั้นพระพุทธรูปด้านทิศใต้ของปราสาท ปางประทานพรพระหัตถ์ขวา ส่วนพระหัตถ์ซ้ายถือชายจีวร เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นที่ปั้นอยู่บนแกนประตูหลอกแสดงให้เห็นว่าปราสาททั้งสามหลังนี้ ไม่เชื่อมต่อกัน[[http://photos3.hi5.com/0062/232/914/2xpl3N232914-02.jpg]]
''ประติมากรรมพระโพธิสัตว์โลเกศวรเปล่งรัศมี'' พบตรงบริเวณปราสาททิศตะวันตก ลักษณะประติมากรรมรูปพระโพธิสัตว์โลเกศวรเปล่งรัศมีที่พบ ทำจากวัสดุศิลาทรายขาว วรกายชำรุดหักพังในส่วนศีรษะ แขน และขา แต่ยังคงพบศีรษะในบริเวณใกล้เคียงอยู่ ลวดลายบริเวณพระวรกายท่อนบนตรงบริเวณพระอุระปรากฏพระพุทธรูปปางสมาธิองค์เล็กประดับเรียงเป็นแถว ถ้าสมบูรณ์ จะมี 8 พระกร มีพระพุทธรูปปางสมาธิประดับเหนือกระบังหน้า สวมพระธำมรงค์ที่มีหัวเป็นพระพุทธรูปปางสมาธิที่นิ้วพระบาททั้งสิบ อันแสดงถึงภาวะเหนือพระพุทธเจ้าทั้งปวง[[http://photos4.hi5.com/0061/800/427/JO0JNH800427-02.jpg]]
 
''ประติมากรรมพระโพธิสัตว์โลเกศวรสี่กร'' พบในสภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนพระวรกายและท่อนแขน 4 ท่อน ทรงภูษาสมพตในศิลปะเขมรแบบบายน ถ้าสมบูรณ์ จะมี 4 กร กรซ้ายหน้าถือดอกบัว กรขวาหน้าถือหม้อน้ำ กรซ้ายหลังถือประคำ กรขวาหลังถือคัมภีร์
ปูนปั้นพระพุทธรูปด้านทิศเหนือของปราสาท ลวดลายหลุดออกไปมาก ไม่สามารถกำหนดได้ว่าเป็นปางใด แต่ก็ยังเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นที่ปั้นอยู่บนแกนประตูหลอกแสดงให้เห็นว่าปราสาททั้งสามหลังนี้ ไม่เชื่อมต่อกัน[[http://photos2.hi5.com/0060/740/981/zMHpJF740981-02.jpg]]
''พระวัชรสัตว์'' หรือ พระพุทธรูปนาคปรก ลักษณะที่พบเหลือเพียงส่วนของพระพักตร์และพระอุระ ด้านหลังมีแผ่นหินสลักติดเป็นตัวนาคแผ่พังพาน ถ้าสมบูรณ์จะเป็นพระพุทธรูปนาคปรก บนฐานพญานาคขด ปางสมาธิ เป็นพระวัชรสัตว์ในลัทธิวัชรยานของกัมพูชา คำว่า วัชรสัตว์ เป็นพระนามที่เขมรใช้เรียกพระอาทิพุทธะหรือพระมหาไวโรจนะ พระพุทธเจ้าองค์ที่ 6 ของพุทธศาสนาลัทธิวัชรยาน ซึ่งศิลปเขมรนิยมสร้างออกมาในรูปแบบพระพุทธรูปนาคปรก
 
''พระนางปรัชญาปารมิตา'' พบเพียงส่วนเศียรเท่านั้น ปัจจุบันเป็นสมบัติเอกชน ถ้าสมบูรณ์จะพบอยู่ในรูปพระโพธิสัตว์เพศหญิง มี 2 กร กรซ้ายถือดอกบัว ภายในมีคัมภีร์ปรัชญาปารมิตา กรขวาแสดงปางประทานพร
 
''หัวสะพานรูปครุฑยุดนาค'' หัวบันไดนี้ไม่ได้พบภายในวัดกำแพงแลง แต่พบว่าได้จัดเก็บไว้ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบุรี โดยลักษณะเป็นหัวบันไดครุฑยุดนาค แต่ที่พบนี้ ชำรุดไปมาก เหลือเพียงส่วนของขาครุฑ และหัวพญานาค 3 เศียรเท่านั้น ซึ่งลักษณะของหัวสะพานเช่นนี้ เป็นที่นิยมมาในศิลปะสมัยบายน ดังตัวอย่างจากหัวสะพานรูปครุฑยุคนาด ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร
== ประติมากรรมที่พบ ==
 
โบราณวัตถุสำคัญที่พบ พบทั้งหมด 5 ชิ้น ได้แก่
'''พระโพธิสัตว์โลเกศวรเปล่งรัศมี'''
 
พบตรงบริเวณปราสาททิศตะวันตก ลักษณะประติมากรรมรูปพระโพธิสัตว์โลเกศวรเปล่งรัศมีที่พบ ทำจากวัสดุศิลาทรายขาว วรกายชำรุดหักพังในส่วนศีรษะ แขน และขา แต่ยังคงพบศีรษะในบริเวณใกล้เคียงอยู่ ลวดลายบริเวณพระวรกายท่อนบนตรงบริเวณพระอุระปรากฏพระพุทธรูปปางสมาธิองค์เล็กประดับเรียงเป็นแถว ถ้าสมบูรณ์ จะมี 8 พระกร มีพระพุทธรูปปางสมาธิประดับเหนือกระบังหน้า สวมพระธำมรงค์ที่มีหัวเป็นพระพุทธรูปปางสมาธิที่นิ้วพระบาททั้งสิบ อันแสดงถึงภาวะเหนือพระพุทธเจ้าทั้งปวง[[http://photos4.hi5.com/0061/800/427/JO0JNH800427-02.jpg]]
'''พระโพธิสัตว์โลเกศวรสี่กร'''
 
พบในสภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนพระวรกายและท่อนแขน 4 ท่อน ทรงภูษาสมพตในศิลปะเขมรแบบบายน ถ้าสมบูรณ์ จะมี 4 กร กรซ้ายหน้าถือดอกบัว กรขวาหน้าถือหม้อน้ำ กรซ้ายหลังถือประคำ กรขวาหลังถือคัมภีร์
 
'''พระวัชรสัตว์นาคปรก'''
 
เป็นพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ลักษณะที่พบเหลือเพียงส่วนของพระพักตร์และพระอุระ ด้านหลังมีแผ่นหินสลักติดเป็นตัวนาคแผ่พังพาน ถ้าสมบูรณ์จะเป็นพระพุทธรูปนาคปรก บนฐานพญานาคขด ปางสมาธิ เป็นพระวัชรสัตว์ในลัทธิวัชรยานของกัมพูชา คำว่า วัชรสัตว์ เป็นพระนามที่เขมรใช้เรียกพระอาทิพุทธะหรือพระมหาไวโรจนะ พระพุทธเจ้าองค์ที่ 6 ของพุทธศาสนาลัทธิวัชรยาน ซึ่งศิลปเขมรนิยมสร้างออกมาในรูปแบบพระพุทธรูปนาคปรก
 
'''พระนางปรัชญาปารมิตา'''
 
พบเพียงส่วนเศียรเท่านั้น ปัจจุบันเป็นสมบัติเอกชน ถ้าสมบูรณ์จะพบอยู่ในรูปพระโพธิสัตว์เพศหญิง มี 2 กร กรซ้ายถือดอกบัว ภายในมีคัมภีร์ปรัชญาปารมิตา กรขวาแสดงปางประทานพร
'''หัวสะพานรูปครุฑยุดนาค'''
 
หัวสะพานนี้ไม่ได้พบภายในวัดกำแพงแลง แต่พบว่าได้จัดเก็บไว้ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบุรี โดยลักษณะเป็นหัวบันไดครุฑยุดนาค แต่ที่พบนี้ ชำรุดไปมาก เหลือเพียงส่วนของขาครุฑ และหัวพญานาค 3 เศียรเท่านั้น ซึ่งลักษณะของหัวสะพานเช่นนี้ เป็นที่นิยมมาในศิลปะเขมรสมัยบายน ดังตัวอย่างจากหัวสะพานรูปครุฑยุคนาด ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร
 
'''การวิเคราะห์ด้วยหลักการทางประติมานิรมานวิทยา'''
== ความหมายของประติมากรรมที่พบ ==
ประติมานิรมานวิทยาของการวางผังโบราณสถานที่พบ
 
การวางผังของปราสาท พบการวางแนวปราสาทคล้ายคลึงกับปราสาทเขมรทั่วไป คือพบยอดปรางค์ปราสาท 5 หลัง เรียงประจำตามทิศทั้ง 4 ซึ่งที่วัดกำแพงแลงแห่งนี้พบว่าปราสาททางทิศตะวันออกเป็นโคปุระ หรือซุ้มประตูทางเข้า
 
มีการวางแนวของปราสาทสำคัญ 3 หลังในแนวเหนือ-ใต้ โดยมีปราสาทประธานองค์กลางเป็นแกน ทางทิศตะวันตกพบปราสาทอีกหนึ่งหลัง เมื่อมองเพียงรูปของการวางผังอาจเทียบคล้ายกับการวางผังของปราสาทเขมรโดยทั่วไป การวางแนวของปราสาทสำคัญ 3 หลังเทียบได้กับที่ปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี ซึ่งมีผังการวางแนวปรางค์ประธาน เรียงกันสามองค์เช่นกัน โดยการวางผังนี้ อยู่ภายใต้คติความเชื่อของศาสนาพุทธ ลัทธิวัชรยาน คือการสร้างปราสาท สามหลัง เพื่อเป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพ
ประติมากรรมที่พบบริเวณปราสาทวัดกำแพงแลงเป็นหลักฐานที่สำคัญที่จะสื่อให้เห็นว่าโบราณสถานแห่งนี้ สร้างขึ้นภายใต้คติความเชื่อศาสนาพุทธลัทธิวัชรยาน ซึ่งเป็นลัทธิที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงนับถือ มาก พระองค์ได้มีความนิยมในการสร้างรูปเคารพภายใต้ลัทธินี้อย่างแพร่หลาย รูปเคารพสำคัญ ได้แก่ พระโลเกศวรสี่กร พระวัชรสัตว์นาคปรกและพระนางปรัชญาปารมิตา ความหมายของการสร้างรูปเคารพทั้งสามนี้ คือการสร้างรูปเคารพแทนความหมายเชิงอภิปรัชญา โดยพระโลเกศวรแทนความเป็นอุบายเพื่อนำไปสู่ปัญญา พระวัชรสัตว์นาคปรกแทนสภาวะของพระโพธิญาณอันหมายถึงศูนยตา และพระนางปรัชญาปารมิตาเป็นตัวแทนของปัญญา รวมความหมายคืออุบายและปัญญา เป็นหนทางไปสู่ความเป็นศูนฺยตา เมื่อนำรูปเคารพที่พบมาเรียงกันแล้ว จะพบว่า ปราสาทต่างๆ ก็สร้างขึ้นเพื่อถวายแด่รูปเคารพเหล่านั้นด้วย โดยปราสาทองค์กลางสร้างขึ้นถวายแด่ พระวัชรสัตว์พุทธะ (พระมหาไวโรจนะหรือพระอาทิพุทธะ) ลักษณะของพระวัชรสัตว์โดยทั่วไปนั้นคือ พระพุทธรูปนาคปรก ปราสาททิศเหนือประดิษฐานรูปเคารพปรัชญาปารมิตา ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูปเคารพพระโลเกศวร 4 กร จากการวางผังทั้งสามนี้ ทำให้ทราบว่ารูปเคารพที่พบเป็นรูปเคารพในลัทธิวัชรยาน ศิลปะเขมรแบบบายน
ปราสาททิศใต้ สร้างถวายแด่ พระโลเกศวรสี่กร
 
ปราสาทองค์กลาง สร้างถวายแด่พระวัชรสัตว์นาคปรก
 
ปราสาททิศเหนือ สร้างถวายแด่พระนางปรัชญาปารมิตา
== คติในการสร้าง ==
แต่มีที่พิเศษขึ้นมาคือ ปราสาททิศตะวันตก ที่สร้างขึ้นพิเศษเพื่อสร้างถวายแด่พระโลเกศวรเปล่งรัศมี
 
 
การวางผังของปราสาท พบการวางแนวปราสาทคล้ายคลึงกับปราสาทเขมรทั่วไป คือพบยอดปรางค์ปราสาท 5 หลัง เรียงประจำตามทิศทั้ง 4 ซึ่งที่วัดกำแพงแลงแห่งนี้พบว่าปราสาททางทิศตะวันออกเป็นโคปุระ หรือซุ้มประตูทางเข้ามีการวางแนวของปราสาทสำคัญ 3 หลังในแนวเหนือ-ใต้ โดยมีปราสาทประธานองค์กลางเป็นแกน ทางทิศตะวันตกพบปราสาทอีกหนึ่งหลัง เมื่อมองเพียงรูปของการวางผังอาจเทียบคล้ายกับการวางผังของปราสาทเขมรโดยทั่วไป การวางแนวของปราสาทสำคัญ 3 หลังเทียบได้กับที่ปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี ซึ่งมีผังการวางแนวปรางค์ประธาน เรียงกันสามองค์เช่นกัน โดยการวางผังนี้ อยู่ภายใต้คติความเชื่อของศาสนาพุทธ ลัทธิวัชรยาน คือการสร้างปราสาท สามหลัง เพื่อเป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพ ดังนี้
'' ปราสาททิศใต้'' สร้างถวายแด่ พระโลเกศวรสี่กร
''ปราสาทองค์กลาง'' สร้างถวายแด่พระวัชรสัตว์นาคปรก
''ปราสาททิศเหนือ'' สร้างถวายแด่พระนางปรัชญาปารมิตา
'' ปราสาททิศตะวันตก'' ที่สร้างขึ้นพิเศษเพื่อสร้างถวายแด่พระโลเกศวรเปล่งรัศมี
จากลักษณะของปราสาทวัดกพแพงแลงเมื่อเทียบกับปราสาทเขมรแล้วมีความใกล้เคียงกันมาก ตั้งแต่ส่วนฐานจนถึงส่วนยอดนั้น มีองค์ประกอบที่คล้ายกัน กล่าวคือองค์ประกอบในส่วนของการสร้างต่างๆ เช่น บราลีบนสันหลังคา ชั้นภูมิของปรางค์ ยอดพินทุ กลีบขนุน ก็เป็นไปตามระเบียบวิธีการสร้างปราสาทเขมร แต่การวางผังปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ พบเพียงส่วนของเรือนธาตุและมุขที่ยื่นออกมาเท่านั้น ไม่มีส่วนของมณฑป มุขสันตามแบบปราสาทเขมรหลังอื่นๆ ที่พบในประเทศไทย
'''ประติมานิรมานวิทยาของสถาปัตยกรรมของโบราณสถานที่พบ'''
''ปราสาท'' จากลักษณะของปราสาทที่พบ เมื่อเทียบกับปราสาทเขมรแล้วมีความใกล้เคียงกันมาก ตั้งแต่ส่วนฐานจนถึงส่วนยอดนั้น มีองค์ประกอบที่คล้ายกัน กล่าวคือองค์ประกอบในส่วนของการสร้างต่างๆ เช่น บราลีบนสันหลังคา ชั้นภูมิของปรางค์ ยอดพินทุ กลีบขนุน ก็เป็นไปตามระเบียบวิธีการสร้างปราสาทเขมร แต่การวางผังปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ พบเพียงส่วนของเรือนธาตุและมุขที่ยื่นออกมาเท่านั้น ไม่มีส่วนของมณฑป มุขสันตามแบบปราสาทเขมรหลังอื่นๆ ที่พบในประเทศไทย
 
 
'''ประติมานิรมานวิทยาของโบราณวัตถุที่พบ'''
== อายุเวลา ==
''ประติมากรรมรูปเคารพ'' ซึ่งเป็นหลักฐานที่สำคัญที่จะสื่อให้เห็นว่าโบราณสถานแห่งนี้ สร้างขึ้นภายใต้คติความเชื่อศาสนาพุทธลัทธิวัชรยาน ซึ่งเป็นลัทธิที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงนับถือ มาก พระองค์ได้มีความนิยมในการสร้างรูปเคารพภายใต้ลัทธินี้อย่างแพร่หลาย รูปเคารพสำคัญ ได้แก่ พระโลเกศวรสี่กร พระวัชรสัตว์นาคปรกและพระนางปรัชญาปารมิตา ความหมายของการสร้างรูปเคารพทั้งสามนี้ คือการสร้างรูปเคารพแทนความหมายเชิงอภิปรัชญา โดยพระโลเกศวรแทนความเป็นอุบายเพื่อนำไปสู่ปัญญา พระวัชรสัตว์นาคปรกแทนสภาวะของพระโพธิญาณอันหมายถึงศูนยตา และพระนางปรัชญาปารมิตาเป็นตัวแทนของปัญญา รวมความหมายคืออุบายและปัญญา เป็นหนทางไปสู่ความเป็นศูนยตา
 
เมื่อนำรูปเคารพที่พบมาเรียงกันแล้ว จะพบว่า ปราสาทต่างๆ ก็สร้างขึ้นเพื่อถวายแด่รูปเคารพเหล่านั้นด้วย โดยปราสาทองค์กลางสร้างขึ้นถวายแด่ พระวัชรสัตว์พุทธะ (พระมหาไวโรจนะหรือพระอาทิพุทธะ) ลักษณะของพระวัชรสัตว์โดยทั่วไปนั้นคือ พระพุทธรูปนาคปรก ปราสาททิศเหนือประดิษฐานรูปเคารพปรัชญาปารมิตา ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูปเคารพพระโลเกศวร 4 กร จากการวางผังทั้งสามนี้ ทำให้ทราบว่ารูปเคารพที่พบเป็นรูปเคารพในลัทธิวัชรยาน ศิลปะเขมรแบบบายน
 
การกำหนดอายุเวลาของโบราณสถานวัดกำแพงแลง กำหนดอายุเวลาในการสร้างอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ระหว่างปี พ.ศ. 1724-1773 ซึ่งเป็นปีที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ครองราชย์ เป็นศิลปะแบบบายนปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดอายุเวลาดังกล่าวมีดังนี้
'''วัสดุในการสร้างปราสาท (ศิลาแลง)'''
 
เป็นวัสดุที่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ช่างนิยมใช้กันเนื่องจากเหตุผลบางประการคือ ขาดแคลนหิน และนำวัสดุที่พบง่ายในท้องถิ่นของตัวเองนำเอามาสร้าง สะดวกในการหาใช้ และต้องการความแข็งแรง คงทนก็คือ ศิลาแลง ซึ่งเราหากมองย้อนไปว่าที่เขมรในช่วงสมัยเมืองพระนคร พุทธศตวรรษที่ 16-17 นั้นปราสาทที่สร้างขึ้นนั้นส่วนใหญ่จะสร้างด้วยหินทรายซึ่งได้มาจากเขาพนมกุเลน พอมาถึงสมัยบายนหินเริ่มขาดแคลนหินที่นำมาก่อสร้างปราสาทบายนนั้นเป็นหินที่ไม่ค่อยมีคุณภาพและเหลือน้อยจึงจำต้องหาวัสดุอื่นมาเสริมก็คือศิลาแลงแต่ก็ใช้ในส่วนที่เป็นฐานเท่านั้น ซึ่งเมื่ออิทธิพลเขมรได้แผ่ขยายเข้าในภาคกลางของประเทศไทยนั้นก็เกิดมีการสร้างปราสาทแบบเขมรจำนวนมาก ปราสาทที่พบร่วมสมัยนี้มักสร้างด้วยศิลาแลงซึ่งเป็นวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่นมาใช้ในการก่อสร้าง ดังนั้นการสร้างปราสาทกำแพงแลง ก็เลยนำวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่นอันได้แก่ ศิลาแลง นำมาก่อสร้างซึ่งสันนิษฐานอายุเวลาได้ว่าร่วมสมัยกับศิลปะบายน
 
'''การวางผัง'''
 
ลักษณะของการวางผังปราสาททิศเหนือ ปราสาทองค์กลาง และปราสาททิศใต้ เป็นไปในลักษณะการวางตามคติการนับถือพระโพธิสัตว์ 3 องค์สำคัญในลัทธิวัชรยานของกัมพูชา ปราสาทิศเหนือได้แก่พระนางปรัชญาปารมิตา ปราสาทองค์กลาง คือพระวัชรสัตว์นาคปรก และจากปราสาททิศใต้ได้แก่ พระโลเกศวรสี่กร ซึ่งคติการนับถือรูปเคารพทั้งสามรูปเรียงกันในแนวนี้ เป็นคติการนับถือรูปเคารพในลัทธิวัชรยาน สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 จึงสามารถกำหนดอายุเวลา ในการสร้างปราสาทกำแพงแลงนี้ได้ว่า ร่วมสมัยกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
'''ลวดลายประดับ'''
'''อายุเวลา '''
 
การกำหนดอายุเวลาของโบราณสถานวัดกำแพงแลง กำหนดอายุเวลาในการสร้างอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ระหว่างปี พ.ศ. 1724-1773 ซึ่งเป็นปีที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ครองราชย์ เป็นศิลปะแบบบายนปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดอายุเวลาดังกล่าวมีดังนี้
ลายประดับปูนปั้นที่พบนั้น ที่สามารถบอกได้อย่างชัดเจนว่าเป็นลายในศิลปะสมัยบายนนั้นก็คือ ลายดอกไม้วงกลม ซึ่งเป็นลายที่นิยมมากในการประดับอาคารสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยลายนี้ ได้รับอิทธิพลจากผ้าแพรของจีน นอกจากนั้น ในส่วนของลายหน้าบัน ลายพญานาค 5 เศียรสวมกระบังหน้า และการนุ่งผ้าสมพตของภาพบุคคลในกลีบขนุน ก็แสดงถึงเอกลักษณ์ลวดลายของศิลปะสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
''วัสดุในการสร้างปราสาท (ศิลาแลง)'' เป็นวัสดุที่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ช่างนิยมใช้กันเนื่องจากเหตุผลบางประการคือ ขาดแคลนหิน และนำวัสดุที่พบง่ายในท้องถิ่นของตัวเองนำเอามาสร้าง สะดวกในการหาใช้ และต้องการความแข็งแรง คงทนก็คือ ศิลาแลง ซึ่งเราหากมองย้อนไปว่าที่เขมรในช่วงสมัยเมืองพระนคร พุทธศตวรรษที่ 16-17 นั้นปราสาทที่สร้างขึ้นนั้นส่วนใหญ่จะสร้างด้วยหินทรายซึ่งได้มาจากเขาพนมกุเลน พอมาถึงสมัยบายนหินเริ่มขาดแคลนหินที่นำมาก่อสร้างปราสาทบายนนั้นเป็นหินที่ไม่ค่อยมีคุณภาพและเหลือน้อยจึงจำต้องหาวัสดุอื่นมาเสริมก็คือศิลาแลงแต่ก็ใช้ในส่วนที่เป็นฐานเท่านั้น ซึ่งเมื่ออิทธิพลเขมรได้แผ่ขยายเข้าในภาคกลางของประเทศไทยนั้นก็เกิดมีการสร้างปราสาทแบบเขมรจำนวนมาก ปราสาทที่พบร่วมสมัยนี้มักสร้างด้วยศิลาแลงซึ่งเป็นวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่นมาใช้ในการก่อสร้าง ดังนั้นการสร้างปราสาทกำแพงแลง ก็เลยนำวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่นอันได้แก่ ศิลาแลง นำมาก่อสร้างซึ่งสันนิษฐานอายุเวลาได้ว่าร่วมสมัยกับศิลปะบายน
 
''การสร้างปราสาท'' ลักษณะของการวางผังปราสาททิศเหนือ ปราสาทองค์กลาง และปราสาททิศใต้ เป็นไปในลักษณะการวางตามคติการนับถือพระโพธิสัตว์ 3 องค์สำคัญในลัทธิวัชรยานของกัมพูชา ปราสาทิศเหนือได้แก่พระนางปรัชญาปารมิตา ปราสาทองค์กลาง คือพระวัชรสัตว์นาคปรก และจากปราสาททิศใต้ได้แก่ พระโลเกศวรสี่กร ซึ่งคติการนับถือรูปเคารพทั้งสามรูปเรียงกันในแนวนี้ เป็นคติการนับถือรูปเคารพในลัทธิวัชรยาน สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 จึงสามารถกำหนดอายุเวลา ในการสร้างปราสาทกำแพงแลงนี้ได้ว่า ร่วมสมัยกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
'''ประติมากรรมที่พบ'''
''ลายประดับ'' ลายประดับปูนปั้นที่พบนั้น ที่สามารถบอกได้อย่างชัดเจนว่าเป็นลายในศิลปะสมัยบายนนั้นก็คือ ลายดอกไม้วงกลม ซึ่งเป็นลายที่นิยมมากในการประดับอาคารสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยลายนี้ ได้รับอิทธิพลจากผ้าแพรของจีน นอกจากนั้น ในส่วนของลายหน้าบัน ลายพญานาค 5 เศียรสวมกระบังหน้า และการนุ่งผ้าสมพตของภาพบุคคลในกลีบขนุน ก็แสดงถึงเอกลักษณ์ลวดลายของศิลปะสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
 
''ประติมากรรม'' นอกจากรูปประติมากรรมพระโพธิสัตว์ 3 องค์สำคัญในลัทธิวัชรยานของกัมพูชา ได้แก่ พระโลเกศวรสี่กร พระวัชรสัตว์นาคปรกและพระนางปรัชญาปารมิตา และรูปเคารพพระโลเกศวรเปล่งรัศมี ที่เป็นตัวยืนยันว่าโบราณสถานแห่งนี้สร้างขึ้นในช่วงสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แล้ว ยังมีประติมากรรมหัวสะพานรูปครุฑยุดนาค ที่เป็นเอกลักษณ์ของการสร้างปราสาทในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อีกด้วย ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างหัวสะพานของปราสาทบายน ที่เป็นรูปครุฑยุดนาคเช่นกัน ดังนั้นแสดงว่าประติมากรรมที่พบนี้ มีอายุเวลาร่วมสมัยกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
นอกจากรูปประติมากรรมพระโพธิสัตว์ 3 องค์สำคัญในลัทธิวัชรยานของกัมพูชา ได้แก่ พระโลเกศวรสี่กร พระวัชรสัตว์นาคปรกและพระนางปรัชญาปารมิตา และรูปเคารพพระโลเกศวรเปล่งรัศมี ที่เป็นตัวยืนยันว่าโบราณสถานแห่งนี้สร้างขึ้นในช่วงสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แล้ว ยังมีประติมากรรมหัวสะพานรูปครุฑยุดนาค ที่เป็นเอกลักษณ์ของการสร้างปราสาทในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อีกด้วย ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างหัวสะพานของปราสาทบายน ที่เป็นรูปครุฑยุดนาคเช่นกัน ดังนั้นแสดงว่าประติมากรรมที่พบนี้ มีอายุเวลาร่วมสมัยกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
''จารึกที่ปราสาทพระขรรค์'' กล่าวถึงเมือง “ศรีชัยวัชรปุระ” (เมืองเพชรบุรี) หนึ่งในหกเมืองโบราณในภาคกลางที่มีการกล่าวต่อไปอีกว่าได้มีการส่งพระชัยพุทธมหานาถ 1 ใน 23 องค์จากเมืองพระนครหลวง มาประดิษฐานที่เมืองเพชรบุรีนั่นก็คือปราสาทวัดกำแลง และเมื่อเทียบกับโบราณสถานแล้ว ก็เป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า ปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ ก็คือปราสาทที่กล่าวถึงในจารึกนั้น ซึ่งปราสาทพระขรรค์ เป็นปราสาทที่ร่วมสมัยกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เช่นกัน
 
'''จารึกที่ปราสาทพระขรรค์'''
 
จารึกที่ปราสาทพระขรรค์ ประเทศกัมพูชา กล่าวถึงเมือง “ศรีชัยวัชรปุระ” (เมืองเพชรบุรี) หนึ่งในหกเมืองโบราณในภาคกลางที่มีการกล่าวต่อไปอีกว่าได้มีการส่งพระชัยพุทธมหานาถ 1 ใน 23 องค์จากเมืองพระนครหลวง มาประดิษฐานที่เมืองเพชรบุรีนั่นก็คือปราสาทวัดกำแลง และเมื่อเทียบกับโบราณสถานแล้ว ก็เป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า ปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ ก็คือปราสาทที่กล่าวถึงในจารึกนั้น ซึ่งปราสาทพระขรรค์ เป็นปราสาทที่ร่วมสมัยกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เช่นกัน
 
 
== อิทธิพลทางด้านศาสนาและการเมือง ==
 
 
การสร้างปราสาทแห่งนี้ คาดว่าเป็นอิทธิพลของเขมรในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่พระองค์มีอำนาจในการแผ่ขยายอิทธิพลมายังภาคกลางของประเทศไทย ซึ่งปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ ถือได้ว่าเป็นปราสาทที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย จึงมีการสร้างคติความเชื่อศาสนาตามเมืองพระนครและเมืองใต้อิทธิพลของพระองค์ จากจารึกปราสาทพระขรรค์ ได้กล่าวว่ามีการส่ง “พระชัยพุทธมหานาถ” พระพุทธรูปที่มีหน้าตาเหมือนพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงรวมกับพระวัชรสัตว์ เป็นผู้มีเมตตายิ่งใหญ่ มาเพื่อประดิษฐานปราสาทเมือง “ศรีชัยวัชรปุระ” จากจารึกนี้ ถ้ามีการส่งพระชัยพุทธมหานาถมาจริง ก็เป็นเสมือนเครื่องหมายของการแผ่ขยายอำนาจของพระองค์เอง และแสดงนัยยะของการปกครองโดยธรรมผ่านศาสนาพุทธลัทธิวัชรยาน
 
สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ทำให้ทราบว่า ปราสาทกำแพงแลงสร้างขึ้นภายใต้คติของวัชรยาน ได้รับอิทธิพลมาจากเขมรศิลปะแบบบายน เทียบอายุเวลาจากวัสดุในการก่อสร้างปราสาท (ศิลาแลง) ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ลวดลายปูนปั้นประดับ ประติมากรรม และจารึกปราสาทพระขรรค์ ที่กล่าวถึงการส่งพระพุทธรูป จากปัจจัยเหล่านี้ กำหนดอายุเวลาได้ว่า ปราสาทกำแพงแลงสร้างในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ระหว่างปี พ.ศ. 1724-1763 ซึ่งเป็นปีที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ครองราชย์
ส่วนโกลนของพระพุทธรูปในปราสาททิศใต้นั้น เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นในยุคหลัง คาดว่าเป็นช่วงที่อิทธิพลของศาสนาพุทธลัทธิหีนยาน แผ่ขยายเหนือพื้นที่นี้ จึงสร้างลวดลายปูนปั้นพระพุทธรูปขึ้น
 
'''อิทธิพลต่อการสร้างปราสาทวัดกำแพงแลง'''
การที่พบปราสาทแห่งนี้ คาดว่าเป็นอิทธิพลของเขมรในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่พระองค์มีอำนาจในการแผ่ขยายอิทธิพลมายังภาคกลางของประเทศไทย ซึ่งปราสาทกำแพงแลงแห่งนี้ ถือได้ว่าเป็นปราสาทที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย จึงมีการสร้างคติความเชื่อศาสนาตามเมืองพระนครและเมืองใต้อิทธิพลของพระองค์ จากจารึกปราสาทพระขรรค์ ได้กล่าวว่ามีการส่ง “พระชัยพุทธมหานาถ” พระพุทธรูปที่มีหน้าตาเหมือนพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงรวมกับพระวัชรสัตว์ เป็นผู้มีเมตตายิ่งใหญ่ มาเพื่อประดิษฐานปราสาทเมือง “ศรีชัยวัชรปุระ” จากจารึกนี้ ถ้ามีการส่งพระชัยพุทธมหานาถมาจริง ก็เป็นเสมือนเครื่องหมายของการแผ่ขยายอำนาจของพระองค์เอง และแสดงนัยยะของการปกครองโดยธรรมผ่านศาสนาพุทธลัทธิวัชรยาน
สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ทำให้ทราบว่า ปราสาทกำแพงแลงสร้างขึ้นภายใต้คติของวัชรยาน ได้รับอิทธิพลมาจากเขมรศิลปะแบบบายน เทียบอายุเวลาจากวัสดุในการก่อสร้างปราสาท (ศิลาแลง) ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ลวดลายปูนปั้นประดับ ประติมากรรม และจารึกปราสาทพระขรรค์ ที่กล่าวถึงการส่งพระพุทธรูป จากปัจจัยเหล่านี้ กำหนดอายุเวลาได้ว่า ปราสาทกำแพงแลงสร้างในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ระหว่างปี พ.ศ. 1724-1763 ซึ่งเป็นปีที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ครองราชย์
โกลนของพระพุทธรูปในปราสาททิศใต้นั้น เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นในยุคหลัง คาดว่าเป็นช่วงที่อิทธิพลของศาสนาพุทธลัทธิหีนยาน แผ่ขยายเหนือพื้นที่นี้ จึงสร้างลวดลายปูนปั้นพระพุทธรูปขึ้น
การที่พบปราสาทแห่งนี้ คาดว่าเป็นอิทธิพลของเขมรในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่พระองค์มีอำนาจในการแผ่ขยายอิทธิพลมายังภาคกลางของประเทศไทย จึงมีการสร้างคติความเชื่อศาสนาตามเมืองพระนครและได้มีการส่ง “พระชัยพุทธมหานาถ” มาเพื่อเป็นเสมือนเครื่องหมายของการแผ่ขยายอำนาจของพระองค์เอง
== อ้างอิง ==
 
 
<references />กรมศิลปากร กองโบราณคดี, ทะเบียนโบราณสถานในเขตหน่วยศิลปากรที่ 2 (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมาพันธ์ จำกัด), 2538
จารึก วิไลแก้ว, วัดกำแพงแลง (สำนักพิมพ์เมืองโบราณ), 2534