ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mixvasuvadh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
}}
 
'''วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร''' ก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2546]] โดยมีหน้าที่วิจัยและพัฒนาด้าน[[พลังงานทดแทน]] โดยเน้น[[พลังงานแสงอาทิตย์]] [[พลังงานน้ำ]] [[พลังงานลม]] [[ชีวมวล]] [[พลังงานความร้อนใต้พิภพ]] และพลังงานอื่นๆ นอกจากนี้ยังเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยขั้นสูงที่ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก และการทำวิจัยหลังปริญญาเอก ตั้งอยู่ ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
 
== ประวัติ ==
วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเริ่มมาจากการเป็นศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy Research and Training Center SERT) โดยได้ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี [[พ.ศ.2535]]
 
วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเริ่มมาจากการเป็นศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy Research and Training Center SERT) โดยได้ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี [[พ.ศ.2535]]
ได้ปรับสถานะของหน่วยงานเป็น วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] โดยวิทยาลัยพลังงานทดแท มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหน่วยงานซึ่งอยู่ภายใต้กำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร
 
ได้ปรับสถานะของหน่วยงานเป็น วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] โดยวิทยาลัยพลังงานทดแททดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหน่วยงานซึ่งอยู่ภายใต้กำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร
 
วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการวิจัยและพัฒนาด้านพลังงานในรูปแบบบต่างๆ โดยเน้น[[พลังงานทดแทน]]ต่างๆเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานจากน้ำ พลังงานลม พลังงานมวลชีวภาพ และพลังงานใต้พิภพ หรือพลังงานอื่นๆ เป็นศูนย์กลาง การบริการ
 
[[ภาพ:Dc30cv.jpg|thumb|300px|วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
อีกทั้งวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในระดับปริญญาฝดทและเอก ทางด้านพลังงานทดแทน เพื่อผลิตและเพิ่มจำนวนนักวิทยาศาสตร์ในสาขาพลังงานต่อไปทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ
 
อีกทั้งวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยขั้นสูงเฉพาะทาง ในระดับปริญญาฝดทและเอกโทและเอก และการทำวิจัยหลังปริญญาเอกทางด้านพลังงานทดแทน เพื่อผลิตและเพิ่มจำนวนนักวิทยาศาสตร์ในสาขาพลังงานต่อไปทั้งในระดับภูมิภาค ประเทศและระดับประเทศนานาชาติ
 
วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ยังเป็นหน่วยงานที่บริการข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน และนวัตกรรมพลังงานในการสนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย และการฝึกอบรมในรูปเครือข่ายความร่วมมือในระดับประเทศและนานาชาติ เป็นศูนย์ทดสอบทางด้านระบบและอุปกรณ์ด้านพลังงานต่างๆ ตามมาตรฐานสากล และร่วมประกอบการในธุรกิจด้านพลังงานในลักษณะเครือข่ายครบวงจรเทคโนโลยีที่มีความพร้อมและศักยภาพที่เหมาะสมกับความต้องการของประเทศและนานาชาติ โดยแสวงหาโอกาสที่จะนำเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้เพื่อประหยัดพลังงานและลดผลกระทบจากมลภาวะที่เกิดจากการใช้พลังงานฟอสซิล ซึ่งมีผลต่อการยกระดับแสวงหาโอกาสที่จะนำเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้เพื่อประหยัดพลังงาน และลดผลกระทบจากมลภาวะที่เกิดจากการใช้พลังงานฟอสซิลซึ่งมีผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตและสภาวะแวดล้อมของการดำรงชีวิตของมนุษย์ ส่งเสริมและเผยแพร่ให้เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์์เป็นที่รู้จักในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไปอย่างสมบูรณ์
เส้น 46 ⟶ 49:
|}
 
[[ภาพ:sert.gif|thumb|350300px|สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
 
== สวนพลังงาน ==
 
ภายในวิทยาลัยพลังงานทดแทน มีสวนพลังงานตัวอย่างที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย<ref>[http://www.sert.nu.ac.th/new/energypark.htm สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร]</ref> โดยเป็นแหล่งสาธิตการใช้งานจริงของระบบพลังงานทดแทน และมีศูนย์ธุรกิจที่เป็นแหล่งของความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการดำเนินการส่งเสริมธุรกิจทางด้านพลังงานทดแทน ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เยี่ยมชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยเปิดวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 9.00 น. - 17.00 น.
 
ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เยี่ยมชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยเปิดวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 9.00 น. - 17.00 น.
 
== อ้างอิง ==