ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การดื้อแพ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 30:
การใช้คำนี้อย่างกว้างขวางใน[[ภาษาไทย]]เกิดขึ้นในบริบทของ[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|การประท้วงขับไล่นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร]]ในปี [[พ.ศ. 2549]] อย่างไรก็ตามการนำคำนี้ (ในรูปคำนี้) มาใช้ เริ่มโดย[[ชัยวัฒน์ สถาอานันท์]] <ref name="nationsud">ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. [http://www.nationweekend.com/2006/03/03/NW14_441.php คอลัมน์หมายเหตุการณ์.] เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 718 วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2549.</ref> เมื่อกล่าวถึงสถานการณ์ความรุนแรงในภาคใต้ ชัยวัฒน์อธิบายว่า
 
:''ดื้อแพ่งเป็นเรื่องของการขัดขืนอำนาจรัฐ ที่ทั้งเป้าหมายและตัววิธีการอันเป็นหัวใจของ Civil Disobedience ส่งผลในการทำให้สังคมการเมืองโดยรวมมี 'อารยะ' มากขึ้น... การจำกัดอำนาจรัฐนั้นเอง เป็นหนทาง 'อารยะ' ยิ่งการจำกัดอำนาจรัฐโดยพลเมืองด้วยวิธีการอย่างอารยะคือ เป็นไปโดยเปิดเผย ไม่ใช้ความรุนแรง และยอมรับผลตามกฎหมายที่จะเกิดขึ้นกับตัวผู้ใช้สันติวิธีแนวนี้ เพื่อให้สังคมการเมือง 'เป็นธรรม' ขึ้น เคารพสิทธิเสรีภาพของคนมากขึ้น และเป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น'' <ref>จากบทความใน ''รัฐศาสตร์สาร'' ปีที่ 24 ฉบับที่ 3, 2546, อ้างตาม<ref name="nationsud"/></ref>
 
และโดยได้อธิบายคุณลักษณะ 7 ประการของ "ดื้อแพ่ง" ในฐานะของปฏิบัติการทางการเมือง คือ