ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สติปัฏฐาน 4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Budthai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Budthai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
'''สติปัฏฐาน''' จึงหมายถึง การหมั่นคิดเป็นกุศลอย่างฉลาดตามแบบที่พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ในธรรมะ 4 คือ กาย เวทนา จิต ธรรม ซึ่งมีชื่อเรียก ดังนี้ :-
 
#'''[[กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน]]''' - การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่อง[[รูปธรรม]]อย่างละเอียด.
#'''[[เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน]]''' - การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่อง[[นามธรรม]]ในส่วนความรู้สึกจาก[[สัมผัส]]อย่างละเอียด.
#'''[[จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน]]''' - การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่อง[[นามธรรม]ในส่วนของการรับรู้อย่างละเอียด.
#'''[[ธรรมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน]]''' - การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นทุกเรื่องทั้ง[[รูปธรรม]]และ[[นามธรรม]]ทั้งแบบเน้นเฉพาะทางและแบบกว้างขวางอย่างละเอียด.
 
อนึ่ง ความหมายนี้ในพระ[[ไตรปิฎก]]ใช้เพียงคำว่า '''สติปัฏฐาน''' เท่านั้น ส่วนคำว่า '''[[มหาสติปัฏฐาน]]''' นั้นมีใช้เป็นชื่อพระสูตรเท่านั้น ไม่มีใช้ในความหมายนี้โดยตรง.