ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวคลีโอไทด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Loveless (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: no:Nukleotid
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''นิวคลีโอไทด์''' (nucleotide) เป็นโครงสร้างพื้นฐาน[[ของกรดนิวคลีอิก]] ซึ่งประกอบด้วย นิว คลีโอไซด์ (neucleoside) กับฟอสเฟต โดย[[นิวคลีโอไซด์]]ประกอบด้วย[[ไนโตรจีนัสเบส]] (nitrogenous base; เรียกสั้นๆว่าเบส) กับ[[น้ำตาลเพนโทส]] (มีคาร์บอน 5 โมเลกุล) ทั้งนี้เบสแบ่งตามโครงสร้างได้เป็นสองกลุ่มคือ [[ไพริมิดีน]] (โครงสร้างมี 1 วง) ได้แก่ [[ไซโตซีน]] (C) [[ไทมีน]] (T) และ[[ยูราซิล]] (U) และ[[เบสไพรีน]] (โครงสร้างมี 2 วง) ได้แก่[[ อะดีนีน]] (A) [[กวานีน]] (G)
{{สั้นมาก}}
'''นิวคลีโอไทด์''' (nucleotide) มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วนคือ พูรีน (purine) หรือ ไพริมิดีน(pyrimidine) ซึ่งเป็นด่าง น้ำตาล เพนโตส ฟอสเฟตกรุป
 
ในการรวมตัวเป็นนิวคลีโอไทด์ เบสจะต่อกับคาร์บอนตัวที่ 1 ของน้ำตาลเพนโทส และ[[ฟอสเฟต]]ต่อกับน้ำตาลตัวที่ 5 ของเพนโทส น้ำตาลเพนโทสที่พบในนิวคลีโอไทด์มีสองชนิดคือ[[น้ำตาลไรโบส]]กับ[[น้ำตาลดีออกซีไรโบส]]
นิวคลีโอไทด์เหล่านี้มีหน้าที่สร้าง [[กรดนิวคลีอิก]] (nucleic acid)
 
== การรวมตัวเป็นโพลีเมอร์ ==
ในการรวมตัวกันเป็นกรดนิวคลีอิก นิวคลีโอไทด์แต่ละตัวจะต่อกันด้วย[[พันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์]]โดยหมู่ฟอสเฟต ที่คาร์บอนตัวที่ห้าของเพนโทสของนิวคลีโอไทด์ตัวหลังจะต่อกับ[[หมู่ไฮดรอกซิล]] (-OH) ที่คาร์บอนตัวที่สามของเพนโทสของนิวคลีโอไทด์ตัวหน้า และจะต่อเช่นนี้ไปเรื่อยๆ สายของกรดนิวคลีอิกมีสองปลาย ปลายที่หมู่ฟอสเฟตเป็นอิสระเรียก ปลาย 5’ ส่วนปลายที่หมู่ไฮดรอกซิลเป็นอิสระเรียกว่าปลาย 3’
 
เนื่องจากส่วนของฟอสเฟตและน้ำตาลของนิวคลีโอไทด์เป็นส่วนที่คล้ายคลึงกัน แต่จุดที่ทำให้นิวคลีโอไทด์แต่ละตัวต่างกันอยู่ที่เบส ดังนั้นชนิดของเบสจึงเป็นตัวกำหนดคุณสมบัติของนิวคลีโอไทด์ ซึ่งเบสสามารถเข้าคู่กันด้วย[[พันธะไฮโดรเจน]]เป็นคู่ๆได้ เบสที่เข้าคู่กันได้นี้เรียกว่า[[เบสคู่สม]] เบสคู่สมมีสองคู่คือ A กับ T (หรือ U) และ G กับ C
== อ้างอิง ==
* Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth
==ดูเพิ่ม==
* DNA
* RNA
[[หมวดหมู่:กรดนิวคลีอิก]]