ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนัตตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Budthai (คุย | ส่วนร่วม)
Budthai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 13:
ธมฺมปาลาจริโย, มูลฏีกา, อายตนวิภงฺคนิทฺเทสวณฺณนา สุตฺตนฺตภาชนีวณฺณนา อภิธมฺม-มูลฏีกา,อภิ.มูลฏี. 2 ข้อ 154.</ref><ref>ธมฺมปาลาจริโย, ลีนตฺถวณฺณนา-ฏีกา, อายตนวิภงฺคนิทฺเทสวณฺณนา สุตฺตนฺตภาชนีวณฺณนา อภิธมฺม-อนุฏีกา, อภิ.อนุฏี. 2 ข้อ 154.</ref> ดังนี้ :-
* [[อนตฺตา]]([[อนตฺตา]]) - หมายถึง ขันธ์ 5 ทั้งหมด เป็นปรมัตถ์ เป็นสภาวะธรรม มีอยู่จริง, คำว่า"ทุกขัง"เป็นคำ[[ไวพจน์]]ชื่อหนึ่งของขันธ์ 5.
* [[อนัตตลักษณะ]]([[อนตฺตลกฺขณํ]],[[อนตฺตตา]]) - หมายถึง เครื่องกำหนดขันธ์ 5 ทั้งหมดซึ่งเป็นตัวทุกขัง. อนัตตลักษณะเป็นบัญญัติ ไม่ใช่สภาวะธรรม ไม่มีอยู่จริง ดังที่ท่านกล่าวไว้ใน[[อัฏฐสาลินี]]ว่า "''วุฏฺฐานคามินี ปน วิปสฺสนา กิมารมฺมณาติ ลกฺขณารมฺมณาติ. ลกฺขณํ นาม ปญฺญตฺติคติกํ น วตฺตพฺพธมฺมภูตํ.-ก็วุฏฐานคามินีวิปัสสนามีอะไรเล่าเป็นอารมณ์ ตอบว่า มีลักษณะเป็นอารมณ์ ชื่อว่า '''ลักษณะมีคติเป็นบัญญัตติ เป็นนวัตตัพพธรรม'''''.<ref>อภิ.ธ.อ.มกุฏ 75/-/620", บาลีอยู่ใน "โลกุตฺตรกุสลวณฺณนา - -34- อฏฺฐสาลินี ธมฺมสงฺคณี-อฏฺฐกถา (พุทฺธโฆส) - อภิ.อฏฺ. 1 ข้อ ๓๕๐"</ref>, อนัตตลักษณะทำให้เราทราบได้ว่าขันธ์ 5 ไม่มีตัวตน ไรอำนาจ ไม่มีเนื้อแท้แต่อย่างใด ได้แก่ อาการที่ไร้อำนาจบังคับตัวเองให้ไม่เปลี่ยนแปลงไปของขันธ์ 5 เช่น อาการที่ขันธ์ 5 บังคับตนไม่ให้เกิดขึ้นไม่ได้ ไม่ให้เสื่อมสิ้นไปเป็นขันธ์ 5 อันใหม่ไม่ได้, อาการที่ขันธ์ 5 บังคับตนไม่ให้มีขึ้นไม่ได้ ไม่ให้กลับไปไม่มีอีกครั้งไม่ได้ (บังคับให้ไม่หมดไปไม่ได้) เป็นต้น.
 
ใน[[วิสุทธิมรรค]] ท่านได้ยกอนัตตลักษณะจาก[[ปฏิสัมภิทามรรค]]มาแสดงไว้ 5 แบบ เรียกว่า [[โต 5]] และในพระไตรปิฎกยังมีการแสดงอนัตตลักษณะไว้ในแบบอื่นๆอีกมากมาย. แต่คัมภีร์ที่รวบรวมไว้เป็นเบื้องต้นเหมาะสำหรับเป็นคู่มือสำหรับปฏิบัติธรรมได้แก่ คัมภีร์[[ปฏิสัมภิทามรรค]] เพราะสามารถจะจำคำที่คนโบราณใช้กำหนดกันจากคัมภีร์นี้แล้วนำไปใช้ได้ทันที ดังที่ท่านแสดงไว้เป็นต้นว่า ''"จกฺขุ อหุตฺวา สมฺภูตํ หุตฺวา น ภวิสฺสตีติ ววตฺเถติ - นักปฏิบัติธรรมย่อมกำหนดว่า "[[จักขุปสาท]]ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"''เป็นต้น (ให้เพ่งเล็งถึงลักษณะที่ไรอำนาจบังคับตัวเองใหไม่เปลี่ยนไปไม่ได้ ก็จะกลายเป็นการกำหนดอนัตตขลักษณะ).
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อนัตตา"