ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิเทศศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''นิเทศศาสตร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Communication Arts) หมายถึง ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการสื่อสาร โดยให้ความสำคัญกับการสื่อสาร จากองค์ประกอบของการสื่อสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหาสาระที่ผู้ส่งต้องการที่จะกระจายให้ประชาชนได้รับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการกระจายข่าวสารต่างๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง และผู้รับสาร หรือกลุ่มป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการทำให้ข่าวสารที่ส่งไป ถึงผู้รับสารได้มากที่สุด
 
ในปัจจุบัน มีการเปิดสอนวิชานิเทศศาสตร์ในประเทศไทย ตั้งแต่ระดับอนุปริญญา จนถึงปริญญาเอก ทั้งมหาวิทยาลัยของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชน เดิมเคยเป็นสาขาที่มีผู้นิยมเรียนสูงสุด แต่ในปัจจุบัน เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจ ส่งผลต่อบัณฑิตที่สำเร็จจากสาขาวิชานิเทศศาสตร์ และเริ่มมีจำนวนมาก ทำให้บัณฑิตนิเทศศาสตร์ได้ทำงานไม่ตรงตามสาขาได้ทุกคน สาขาวิชานิเทศศาสตร์จึงลดความนิยมลงไป แต่ก็ยังเป็นที่นิยมของนักเรียน นักศึกษาที่ต้องการศึกษาอยู่เป็นจำนวนมาก
 
พลตรี[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ประทานความหมายของ "นิเทศศาสตร์" ไว้่ว่า "เป็นวิชาสื่อสารไปยังมวลชนโดยทางใดก็ตาม ไม่จำเพาะทางหนังสือพิมพ์ เช่น การสื่อสารทางการละครก็เข้าไปอยู่ในนิเทศศาสตร์ การสื่อสารมวลชนทางอื่นนอกจากทางหนังสือพิมพ์ เช่น ทางวิทยุ ทางโทรทัศน์ ก็เข้าอยู่ในนิเทศศาสตร์"
 
== การสอนวิชานิเทศศาสตร์ในมหาวิทยาลัยประเทศไทย ==
''ดูเพิ่ม [[รายชื่อคณะนิเทศศาสตร์ในประเทศไทย]]''
 
เส้น 11 ⟶ 9:
 
นอกจากนี้ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏ]]เกือบทุกแห่ง ก็เปิดสอนในสาขาวิชานิเทศศาสตร์ด้วย สำหรับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโทและเอก) มีเปิดสอนที่ จุฬาฯ ธรรมศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] เชียงใหม่ [[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]] ตลอดจน[[มหาวิทยาลัยเอกชน]]หลายแห่ง เช่น [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] [[มหาวิทยาลัยศรีปทุม]] [[มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]] [[มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์]] [[มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต]] เป็นต้น
 
ในปัจจุบัน มีการเปิดสอนวิชานิเทศศาสตร์ในประเทศไทย ตั้งแต่ระดับอนุปริญญา จนถึงปริญญาเอก ทั้งมหาวิทยาลัยของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชน เดิมเคยเป็นสาขาที่มีผู้นิยมเรียนสูงสุดมาก แต่ในปัจจุบัน เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจ จึงส่งผลต่อบัณฑิตที่สำเร็จจากสาขาวิชานิเทศศาสตร์ และที่เริ่มมีจำนวนมาก ทำให้บัณฑิตนิเทศศาสตร์ได้ทำงานไม่ตรงตามสาขาได้ทุกคน สาขาวิชานิเทศศาสตร์จึงลดความนิยมลงไป แต่ก็ยังเป็นที่นิยมของนักเรียน นักศึกษาที่ต้องการศึกษาอยู่เป็นจำนวนมาก
 
== อ้างอิง ==