ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มอดุลัสของยัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไร้สติ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
ไร้สติ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''มอดุลัสของยัง''' (Young's modulus) หรือ '''มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น''' (modulus of elasticity หรือ elastic modulus) เป็นค่าบอกระดับ[[ความแข็งเกร็ง]] ([[:en:stiffness]]) ของวัสดุ ค่ามอดุลัสของยังหาจาก ค่าลิมิตของอัตราการเปลี่ยนแปลงของ [[ความเค้น]] ([[:en:Stress_(physics)|stress]]) ต่อ [[ความเครียดตึงเครียด]] ([[:en:Strain (materials science)|strain]]) ที่ค่าความเค้นน้อย สามารถหาจาก[[ความชัน]] ของ[[กราฟความสัมพันธ์ ความเค้น-ความเครียด]] ([[:en:stress-strain curve]]) ที่ได้จาก[[การทดลองดึง]] ([[:en:tensile test]]) ค่ามอดุลัสของยัง ตั้งชื่อตาม ชาวอังกฤษ [[โทมัส ยัง]] ([[:en:Thomas Young (scientist)|Thomas Young]]) ซึ่งเป็นทั้งนักฟิสิกส์ แพทย์ แพทย์นรีเวช และผู้ที่ศึกษาวิชาเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวัตถุโบราณของอียิปต์
 
== หน่วย ==
บรรทัด 7:
 
== การคำนวณ ==
มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น <math>\,\lambda\,</math> หาได้จาการหาร ค่า[[ความเค้น]] ด้วย ค่า[[ความตึงเครียด]]
 
:<math> \lambda = \frac{stress}{strain} = \frac{F/A}{x/l} = \frac{F l} {A x} </math>
 
โดย (ในหน่วย SI)
 
<math>\,\lambda\,</math> คือ ค่ามอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น ในหน่วย ปาสกาล
 
<math>\,F\,</math> คือ แรง ในหน่วย [[นิวตัน]]
 
<math>\,A\,</math> คือ พื้นที่หน้าตัดรับแรง ในหน่วย [[ตารางเมตร]]
 
<math>\,x\,</math> คือ ส่วนที่ยืดออกของวัสดุ ในหน่วย [[เมตร]]
 
<math>\,l\,</math> คือ ความยาวปกติของวัสดุ ในหน่วยเมตร
 
 
=== ความตึง ===
มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น ของวัสดุ สามารถใช้ในการคำนวณหาแรงตึง จากส่วนที่ยืดออกได้โดย
 
:<math>T = \frac{\lambda A x}{l}</math>
 
โดย
 
<math>\,T\,</math> คือ แรงตึง ในหน่วย นิวตัน
 
=== พลังงานศักย์ของความยืดหยุ่น ===
 
[[พลังงานศักย์ของความยืดหยุ่น]] ([[:en:elastic potential energy]]) หาได้จากการ[[อินทิเกรต]] แรงตึงเทียบกับตัวแปร <math>\,x\,</math> ได้พลังงงานสะสม <math>\,E\,</math>
 
:<math>E = \frac{\lambda A x^2}{2 l}</math>
 
โดย
 
<math>\,E\,</math> คือ พลังงานศักย์ของความยืดหยุ่น ในหน่วย [[จูล]]