ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
U4815228 (คุย | ส่วนร่วม)
U4815228 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 30:
===ช่วงต้นรัชกาล===
[[ภาพ:MariaTheresa2.jpg|thumb|left|180px|เหรียญกษาปณ์[[Maria Theresa thaler]] (MTT) จะมีอักษรจารึกเป็น[[ภาษาละติน]]ว่า ''M[ARIA] THERESIA D[EI] G[RATIA] R[OMANORVM] IMP[ERATRIX] HV[NGARIAE] BO[HEMIAE] REG[INA]'', แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า "Maria Theresa, by the Grace of God, Empress of the Romans, Queen of Hungary and Bohemia." เหรียญนี้ถูกผลิตขึ้นเมื่อปี[[พ.ศ. 2433]] ณ [[กรุงเวียนนา]]]]
สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ล พระราชบิดาไม่ได้ทรงพระราชทานการศึกษาเรื่องของรัฐศาสตร์แก่พระองค์ ทำให้พระองค์ทรงเรียนรู้ด้วยพระองค์เอง ซึ่งก่อนสิ้นรัชกาลของสมเด็จพระราชบิดา 2 ปี ทางด้านการทหาร กลาโหมได้อ่อนแอลงมาก ไม่มีการพัฒนาเลย โดยหลังจากสมเด็จพระจักรพรรดิเสด็จสวรรคตแล้ว พระองค์ก็ได้ทรงเข้าพิธีเถลิงวัลย์ราชสมบัติเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งฮังการี ณ [[มหาวิหารเซนต์ มาร์ติน]] เมืองพอลโซนี (ปัจจุบันคือกรุง[[กรุงบราติสลาวา]] เมืองหลวงของ[[ประเทศสโลวาเกีย]]) พิธีเถลิงวัลย์ราชสมบัติมีขึ้นเมื่อวันที่ [[25 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2284]]
 
ในขณะที่พระองค์ทรงครองราชย์อยู่นั้น ก็ยังมีสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรียอยู่ เพราเนื่องจาก[[สมเด็จพระราชาธิบดีฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย]]ได้ทรงนำกองทัพรุกรานหวังจะยึดครอง[[ซีลีเซีย]] ขณะที่[[ราชอาณาจักรบาวาเรีย|บาวาเรีย]] และ[[ราชอาณาจักรฝรั่งเศสเก่า|ฝรั่งเศส]]ได้ร่วมกันรุกรานดินแดนทางตะวันตกของออสเตรีย เพราะเนื่องจากปรัสเซียได้ให้บาวาเรียกับฝรั่งเศสรุกรานออสเตรีย สมเด็จพระราชาธิบดีฟรีดริชจึงได้พระสมญานามว่า เฟรเดอริกมหาราช (Frederick The Great) พระองค์จึงเป็นศัตรูตัวฉกาจของสมเด็จพระจักรพรรดินีนาถ อย่างไรก็ตาม พระองค์ก็ทรงเพ่งจุดเด่นไปยังนโยบายทางการเมืองทั้งภายในและภายนอกเพื่อการต่อสู้กับปรัสเซีย เป็นเหตุให้ออสเตรียชนะสงครามในที่สุด ปรัสเซียก็ได้รับความพ่ายแพ้ไป อีกทั้งสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งปรัสเซียก็ทรงยอมรับพระองค์ในฐานะองค์พระประมุขหญิงแห่งอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ ทำให้[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ได้แผ่นดินคืน หลังจากที่เคยถูกยึดไป และได้มีการทำ[[สนธิสัญญาอิกส์-ลา-ชาแปลล์ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2291]] โดยผลของสนธิสัญญาฉบับดังกล่าว มีผลให้ฝรั่งเศสได้ให้ดินแดน[[ออสเตรีย-เนเธอร์แลนด์]] และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถทรงยกดินแดน[[แคว้นปาร์มา|ปาร์มา]] [[ปิอาเซนซ่า]] และ[[กูแอสตาลล่า]]ให้กับ[[ดยุคฟิลลิปแห่งปาร์มา|เจ้าฟ้าชายเฟลิปเป้แห่งสเปน]] (ซึ่งภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นองค์พระประมุขแห่งปาร์มา)