ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานะออกซิเดชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไอ้บ้ากาม (คุย | ส่วนร่วม)
อธิบายเพิ่มเติม
ไอ้บ้ากาม (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สถานะออกซิเดชัน''' เป็นการบ่งบอกการมี[[ประจุ]]ของ[[อะตอม]]ต่างๆที่เป็นองค์ประกอบของ[[สารเคมี]]หรือ[[โมเลกุล]] ในกรณีที่สารชนิดนั้นเป็น สารประกอบ[[ไอออนสารประกอบไอออนิก]]ประจุดังกล่าวเป็นประจุที่แท้จริง ในขณะที่สารชนิดนั้นเป็นสารประกอบโควาเลนต์ประจุดังกล่าวเป็นประจุสมมติ เพราะอิเล็คตรอนที่สร้าง[[พันธะเคมี]]อยู่ระหว่างคู่อะตอมไม่ได้อยู่ที่อะตอมใดอะตอมหนึ่ง
 
 
== การคำนวนสถานะออกซิไดเซชัน ==
การคำนวณหาค่า สถานะออกซิไดเซชันนั้นสามารถกระทำได้โดย ถ้าสารนั้นเป็นสารประกอบ[[ไอออนสารประกอบไอออนิก]] สถานะออกซิเดชัน ของอนุภาคนั้นมีค่าเท่ากับประจุที่ปรากฏบนไอออนนั้น(ในกรณีที่คิดว่าเป็นสารประกอบไอออนไอออนิกสมบูรณ์แบบ) ในกรณีสารประกอบโควาเลนต์ สถานะออกซิเดชัน ของแต่ละอนุภาคในโมเลกุลพิจารณาจากค่าอิเล็คโทนิกกาทีวิตี้ (EN)ของแต่ละอะตอมที่สร้างพันธะว่าอะตอมใดมีค่า ENอิเล็คโทนิกกาทีวิตี้ สูงกว่า โดยที่อะตอมที่มีค่า EN อิเล็คโทนิกกาทีวิตี้สูงกว่าจะถือว่าได้รับได้รับอิเล็คตรอนที่ใช้สร้างพันธะมาทั้งคู่ ดังนั้นประจุสมมติของอะตอมนั้นจึงมีค่าเป็น -1 เพราะถือว่าได้รับอิเล็คตรอนเพิ่มมาหนึ่งตัว เมื่อพิจารณาครบทุกพันธะที่อะตอมนั้นสร้างกับอะตอมอื่นในโมเลกุลแล้ว ผลรวมทั้งหมดจึงเป็นค่า สถานะออกซิเดชัน ของอะตอมนั้น
 
[[หมวดหมู่:เคมี]]