ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตราตวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''มาตราตวง'''
 
''โดย...นิทัศน์เมตตา จิระอรุณเนียมเปรม''
 
มาตราตวงเป็นมาตราที่นิยมก่อนการมีมาตราชั่ง และวัด โดยในสมัยโบราณนิยมใช้มาตราที่มีอยู่ในตัวเช่นมือ กำมือ ฟายมือ หรือใช้อุปกรณ์หาได้ง่ายๆ เช่นกะลามะพร้าว กระบุงสานจากไม้ไผ่ ซึ่งขนาดใหญ่เล็กแตกต่างกันไปในแต่ละที่แต่ละคน
จากบทความ “เรื่องของมาตราวัด” ที่ได้เขียนมาแล้ว[1] คราวนี้มาดูเรื่องของมาตราตวงกันบ้าง มาตราวัดที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นเกี่ยวข้องกับความยาว ขนาด ระยะทาง ส่วนมาตราตวงเกี่ยวข้องกับปริมาตร ซึ่งมีหน่วยที่ใช้กับการตวงของเหลว ของแข็ง และวัดปริมาตรของแก๊ส หลายอย่าง
ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 มีความคิดตั้งกระทรวงขึ้นเพื่อจัดการเกี่ยวกับการค้าขาย และจัดการเรื่องมาตรฐานการชั่งตวงวัดให้มีมาตรฐานเดียวกันทั้งในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ โดยขอเป็นสมาชิกองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการชั่งตวงวัดซึ่งได้รับการตอบรับเป็นสมาชิกในปี พ.ศ.2455(ค.ศ.1912)และตราพระราชบัญญัติมาตราขั่งตวงวัด พ.ศ.2466 เพื่อใช้กำหนดมาตรฐานการชั่ง ตวง วัดในประเทศ ให้สอดคล้องกัน
เมื่อใช้ในระบบเมตริก(เป็นชื่อเก่าของระบบหน่วยSI เปลี่ยนในการประชุมครั้งที่11 ของ CGPM ปี 1960) หน่วยวัดปริมาตรในระบบ SI (SystemeThe International InternationaleSystem of Units,SI) หน่วยแสดงปริมาตรถ้าจะใช้ตามหนึ่งในเจ็ดหน่วยหลัก(SI Base Units)ของระบบSI คือหน่วยแสดงปริมาณความยาวซึ่งเป็นมีชื่อว่าเมตร มาประกอบเข้าด้วยกัน ก็จะเป็น ลูกบาศก์เมตร(cubic metre, m^3) เช่น ใช้น้ำประปาไป 12 ลูกบาศก์เมตร(หรือทางประปาเรียกว่าใช้ไป 12 หน่วย) เป็นต้น หน่วยย่อยลงไปที่ใช้มาก คือ ลูกบาศก์เซนติเมตร, ซม^3 หรือ ซี.ซี. (cubic centimetre, cm^3) เช่น เบียร์กระป๋องมีความจุขนาด 330 ซม^3 เป๊บซี่หรือโค้กขนาด 325 ซม^3 แชมพูขนาด 400 ซี.ซี. น้ำปลา 700 ซม^3 เป็นต้น
สำหรับคำว่าลิตร (litre)เป็นหน่วยที่ใช้อยู่โดยกว้างขวาง ไม่ได้จัดเข้าในระบบหน่วย SI แต่สามารถใช้ร่วมกับระบบนี้ได้โดยใช้เงื่อนใขจากการตกลงกันของสมาชิก CIPM 50 ประเทศดังนี้
 
ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับหน่วย SI เหล่านี้ คือ 1 L,l (1 ลิตร) = 1 1000 cml=1dm^3 = และ10^3 cm^3= 110^-3 m^3 = 1000 l (1000 ลิตร)
ในทางวิทยาศาสตร์ ในระบบเมตริก หน่วยวัดปริมาตรก็มี ลิตร(litre หรือ liter, อังกฤษใช้ litre อเมริกันใช้ liter) สัญลักษณ์ใช้ l หรือ L (ตัวแอลเล็กหรือตัวแอลใหญ่) หน่วยย่อยลงมาก็มี เดซิลิตร, ดล. (decilitre, dl), เซนติลิตร, ซล. (centilitre, cl), มิลลิลิตร, มล. (millilitre, ml) ซึ่งยังคงใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น ระบุราคาน้ำมันเบนซิน ดีเซล แก๊สโซฮอล์ ว่าเป็นลิตรละเท่าไร บอกความจุของน้ำอัดลมในขวดเป็น 1.25 ลิตร, 2 ลิตร บอกความจุของวิสกี้ เบียร์ ไวน์ ในขวดเป็น l, dl, ml หรือ cl บอกความจุของแชมพูในขวดเป็น ml เป็นต้น
สัญลักษณ์ L และ l ใช้ได้ทั้ง 2แบบ เนื่องจากที่ประชุม CGPM(1979) เห็นว่าตัวเลขหนึ่ง 1 และตัวอักษรแอล l อาจทำให้สับสน
 
ในทางวิทยาศาสตร์ ในระบบเมตริก หน่วยวัดปริมาตรก็มี ลิตร(litre หรือ liter, อังกฤษใช้ litre อเมริกันใช้ liter) สัญลักษณ์ใช้ l หรือ L (ตัวแอลเล็กหรือตัวแอลใหญ่) ใช้คำนำหน้าจากระบบSI(SI prefixes)ซึ่งมีอยู่ตอนนี้ 20 ตัว เพื่อแสดงหน่วยใหญ่กว่าและ หน่วยย่อยลงมาก็มีของลิตร ตัวอย่างเช่น เดซิลิตร, ดล. (decilitre, dl), เซนติลิตร, ซล. (centilitre, cl), มิลลิลิตร, มล. (millilitre, ml) ซึ่งยังคงใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น ระบุราคาน้ำมันเบนซิน ดีเซล แก๊สโซฮอล์ ว่าเป็นลิตรละเท่าไร บอกความจุของน้ำอัดลมในขวดเป็น 1.25 ลิตร, 2 ลิตร บอกความจุของวิสกี้ เบียร์ ไวน์ ในขวดเป็น l, dl, ml หรือ cl บอกความจุของแชมพูในขวดเป็น ml เป็นต้น
 
ความสัมพันธ์ของหน่วยเหล่านี้คือ 1 l (1 ลิตร) = 10 dl = 100 cl = 1000 ml
เส้น 12 ⟶ 18:
หน่วยที่ใหญ่กว่าลิตรก็มี เช่น เดคาลิตร, ดคล. (decalitre, dal) ซึ่งเท่ากับ 10 ลิตร เฮคโตลิตร (hectolitre, hl) ซึ่งเท่ากับ 100 ลิตร เป็นต้น
 
เมื่อใช้ระบบ SI (Systeme Internationale) หน่วยปริมาตรถ้าใช้ตามหน่วยหลักของความยาวซึ่งเป็นเมตร ก็จะเป็น ลูกบาศก์เมตร(cubic metre, m^3) เช่น ใช้น้ำประปาไป 12 ลูกบาศก์เมตร(หรือทางประปาเรียกว่าใช้ไป 12 หน่วย) เป็นต้น หน่วยย่อยลงไปที่ใช้มาก คือ ลูกบาศก์เซนติเมตร, ซม^3 หรือ ซี.ซี. (cubic centimetre, cm^3) เช่น เบียร์กระป๋องมีความจุขนาด 330 ซม^3 เป๊บซี่หรือโค้กขนาด 325 ซม^3 แชมพูขนาด 400 ซี.ซี. น้ำปลา 700 ซม^3 เป็นต้น
 
ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับหน่วย SI เหล่านี้ คือ 1 l (1 ลิตร) = 1000 cm^3 และ 1 m^3 = 1000 l (1000 ลิตร)
 
ระบบอังกฤษมี ลูกบาศก์ฟุต (ft^3) ลูกบาศก์นิ้ว (in^3) ซึ่ง 1 ft^3 = 28.317 l(ลิตร) = 28,317 cm^3 = 0.028317 m^3
 
เส้น 46 ⟶ 49:
จึ่งจำลาอาวาสนิราศร้าง มาอ้างว้างวิญญาณ์ในสาคร”
 
มีข้อมูล พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ.2466 (รัชกาลที่ 5)มาตรา 13 ข้อ 2 วิธีประเพณ๊ระบุว่า ทะนานหลวง เท่ากับ 1 ลิตร สัดหลวงเท่ากับ 20 ลิตร บั้นหลวงเท่ากับ 100ลิตร เกวียวหลวงเท่ากับ 2000 ลิตร (ไม่มีระบุเกี่ยวกับถังว่าเป็นเท่าไร)
มีข้อมูลระบุว่า สัดใช้ตวงข้าวเปลือก และ 1 สัด เท่ากับ 25 ทะนาน ส่วนถังใช้ตวงข้าวสาร และ 1 ถังเท่ากับ 20 ทะนาน และ ข้าวสาร 100 ถัง เท่ากับ 1 เกวียน [5]
 
ยังมีหน่วยโบราณอื่น ๆ ที่มีขนาดน้อยกว่า ทะนาน เป็นการวัดโดยประมาณ เช่น
 
เส้น 58 ⟶ 60:
ขนาด “ฟายมือ” คือ เต็มอุ้งมือ หรือ เต็มฝ่ามือที่ห่อเข้าไป
จะเห็นว่า หน่วยสำหรับการตวงก็มีมากพอสมควร ขึ้นอยู่กับความนิยม วัสดุรอบตัว ถัง กระบุง กะลา อวัยวะต่างๆ มือ แขน ซึ่งบางครั้งมีขนาดไม่แน่นอน อาจเกิดความไม่แน่ใจจนเกิดเป็นอุปสรรดในการวัดที่ดีพอสำหรับใช้งาน ควรเลือกใช้มาตราตวงที่มีมาตรฐานน่าเชื่อถือได้เพียงพอสำหรับการใช้งานนั้นๆ ก็ขอจบเรื่องราวของมาตราตวงแต่เพียงเท่านี้
 
 
เส้น 74 ⟶ 76:
 
[6] สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, “สารานุกรมพระพุทธศาสนา”, พิมพ์ครั้งที่ 2, มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2539
[7] พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466,ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 40 หน้า 183 วันที่ 27 ธันวาคม
[8] Bureau International des Poids et Measures,The International Sytem of Units (SI) , 8th edition 2006,Organisation Intergouvernementale de la Convention du Metre
 
*******************************