ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบอบนาซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1,669:
|quote=make war upon the Marxist principle that all men are equal.
}}</ref> เขาเชื่อว่า "คติเรื่องความเท่าเทียมเป็นบาปกรรมต่อธรรมชาติ"<ref>{{harvnb|Bendersky|1985|p=51}}: "the notion of equality was a sin against nature."</ref> ระบอบนาซีค้ำจุน "ความไม่เท่าเทียมกันของมนุษย์" อาทิความไม่เท่าเทียมกันระหว่างเชื้อชาติต่าง ๆ และภายในเชื้อชาติเช่นกัน รัฐนาซีมุ่งที่จะผลักดันปัจเจกชนที่มีความสามารถและความฉลาดเป็นพิเศษเพื่อให้พวกเขาปกครองมวลชนได้{{sfn|Bendersky|1985|p=49}} อุดมการณ์นาซีพึ่งพาแนวคิดอภิชนนิยมและ''[[ฟือเรอร์พรินท์ซีพ]]'' (หลักการท่านผู้นำ) เพื่ออ้างว่าชนกลุ่มน้อยอภิสิทธิชนควรมีหน้าที่เป็นผู้นำเหนือชนส่วนใหญ่ และชนกลุ่มน้อยอภิสิทธิชนเองนั้นควรถูกจัดระเบียบตาม "ลำดับชั้นของความสามารถ" โดยมีผู้นำแต่เพียงหนึ่งเดียว คือ''[[ฟือเรอร์]]''ที่จุดสุดยอด{{sfn|Bendersky|1985|pp=49–50}} หลักการ''ฟือเรอร์พรินท์ซีพ''กล่าวว่าสมาชิกแต่ละคนภายในลำดับชั้นหนึ่งอยู่ในโอวาทของผู้ที่อยู่เหนือเขาโดยสมบูรณ์ และควรถืออำนาจโดยสมบูรณ์เหนือผู้ที่อยู่ต่ำกว่าเขา{{sfn|Bendersky|1985|p=50}}
 
ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1920 ฮิตเลอร์หนุนให้นาซีแต่ละเหล่าที่มีความแตกต่างกันหันมาร่วมกันต่อต้าน[[ลัทธิบอลเชวิกยิว]]<ref name="Adolf Hitler">{{cite journal
|last=Hitler|first=Adolf
|author-link=อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
|title=A New Beginning
|date=26 กุมภาพันธ์ 1925
|journal=Völkischer Beobachter
|quote=They must unite, [Hitler] said, to defeat the common enemy, Jewish Marxism.
}} ใน {{cite book
|last=Toland |first=John
|year=1992
|title=Adolf Hitler
|publisher=Anchor Books
|page=207
|isbn=9780385037242
}}</ref> ฮิตเลอร์กล่าวว่า "ความชั่วสามประการ" ของ "ลัทธิมากซ์ยิว" ประกอบด้วย[[ประชาธิปไตย]] [[สันตินิยม]] และ[[สากลนิยม (การเมือง)|สากลนิยม]]{{sfn|Kershaw|2008|p=53}} ขบวนการคอมมิวนิสต์ สหภาพแรงงาน พรรคสังคมประชาธิปไตย และสื่อฝ่ายซ้ายทั้งหมดถูกมองว่าถูกพวกยิวควบคุมและเป็นส่วนหนึ่งของ "การสมคบคิดของยิวนานาชาติ" ที่จะทำให้ชาติเยอรมนีอ่อนแอด้วยการสนับสนุนความแตกแยกภายในผ่านการต่อสู้ทางชนชั้น{{sfn|Bendersky|1985|p=50}} พวกนาซีเชื่อว่าชาวยิวเป็นผู้ยุยงปลุกปั่นให้เกิด[[การปฏิวัติเดือนตุลาคม|การปฏิวัติบอลเชวิค]]ในประเทศรัสเซีย และเชื่อว่าพวกคอมมิวนิสต์[[ตำนานแทงข้างหลัง|แทงข้างหลังประเทศเยอรมนี]]และเป็นตัวการที่ทำให้พ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง{{sfn|Bendersky|1985|p=52}} พวกเขาอ้างว่าความนิยมในวัฒนธรรมสมัยใหม่ของคริสต์ทศวรรษ 1920 (เช่น[[แจ๊ส|ดนตรีแจ๊ส]]และ[[บาศกนิยม|ศิลปะบาศกนิยม]]) เป็นตัวแทนของ "[[ศิลปะเสื่อม|ลัทธิบอลเชวิคทางวัฒนธรรม]]" และเป็นส่วนหนึ่งของการข่มขืนทางการเมืองที่มุ่งให้เกิดความเสื่อมทรามทางจิตวิญญาณของ ''ฟ็อลค์'' (ประชาชน) เยอรมัน{{sfn|Bendersky|1985|p=52}} โยเซ็ฟ เกิบเบิลส์ เผยแพร่จุลสารนามว่า ''The Nazi-Sozi'' ซึ่งกล่าวถึงประเด็นต่าง ๆ ว่าชาติสังคมนิยมแตกต่างจากลัทธิมากซ์อย่างไร<ref name="Goebbels 1927"/> ใน ค.ศ. 1930 ฮิตเลอร์กล่าวไว้ว่า: "คำว่า 'Socialist' ที่เราเอามาใช้นั้นไม่มีอะไรเกี่ยวกับสังคมนิยมมากซิสต์ ลัทธิมากซ์ต่อต้านทรัพย์สิน สังคมนิยมที่แท้จริงนั้นไม่"<ref name="university29">{{cite journal
|last=Hitler|first= A.
|title=My Terms to the World
|journal=Sunday Express
|date=28 กันยายน 1930
|quote=Our adopted term 'Socialist' has nothing to do with Marxist Socialism. Marxism is anti-property; true Socialism is not
}} ใน {{harvnb|Carsten|1982|p=137}}</ref>
 
[[พรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนี]] (KPD) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้นข้างนอกสหภาพโซเวียต จนกระทั่งมันถูกทำลายลงไปโดยพวกนาซีใน ค.ศ. 1933{{sfn|Nicholls|2000b|p=50}} ในคริสต์ทศวรรษ 1920 และช่วงต้นของ 1930 [[กองกำลังกึ่งทหารในสาธารณรัฐไวมาร์|พวกคอมมิวนิสต์และพวกนาซี]] (Weimar paramilitary groups) ต่อสู้ปะทะกันซึ่งหน้าอย่างรุนแรงบนท้องถนนบ่อยครั้ง โดยองค์กรกึ่งทหารนาซีจะปะทะกับ[[โรเทอร์ฟร็อนท์เค็มพ์เฟอร์บุนท์|แนวหน้าแดง]]คอมมิวนิสต์และ[[อันทีฟาชิสทิชเชออัคซีโยน|ขบวนการต่อต้านลัทธิฟาสซิสต์ ]] (Antifaschistische Aktion) ต่อมาภายหลังช่วงเริ่มต้นของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ทั้งคอมมิวนิสต์และนาซีได้รับคะแนนเสียงเพิ่มมากขึ้น แต่พวกคอมมิวนิสต์ปฏิเสธไม่ร่วมเป็นพันธมิตรกับ[[พรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี]]ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายซ้ายที่ใหญ่ที่สุด ในขณะเดียวกันพวกนาซียอมเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับพรรคฝ่ายขวาอื่น ๆ{{sfn|Fowkes|1984|pp=166-167}} หลังจากนาซีขึ้นสู่อำนาจ พวกเขาสั่งห้ามพรรคคอมมิวนิสต์อย่างรวดเร็ว โดยกล่าวหาว่าพวกเขากำลังเตรียมพร้อมก่อการปฏิวัติและเป็นผู้ก่อ[[เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค]]{{sfn|Fowkes|1984|pp=170–171}} เจ้าหน้าที่พรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนีจำนวน 4,000 คนถูกจับในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933 และจนสิ้นปีคอมมิวนิสต์ 130,000 คนถูกส่งไปยัง[[ค่ายกักกันนาซี]]{{sfn|Fowkes|1984|pp=171}}
 
ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 และ 1940 รัฐบาลและกลุ่มที่สนับสนุนระบอบนาซีประกอบด้วยพวก[[กระบวนทัพสเปนจารีตนิยมและแห่งสภาแนวรุกสหการนิยมแห่งชาติ|ฟาลังเฆ]] (FET y de las JONS) ในประเทศ[[สเปนภายใต้การนำของฟรังโก]] [[ฝรั่งเศสเขตวีชี]]และ[[กองพลทหารราบสรรพาวุธที่ 33 แห่งเอ็สเอ็ส "ชาร์เลอมาญ" (ฝรั่งเศสที่ 1)|กองพลทหารราบสรรพาวุธที่ 33 แห่งเอ็สเอ็ส "ชาร์เลอมาญ"]] ในประเทศฝรั่งเศส และ[[สหภาพฟาสชิสต์บริติช]] (British Union of Fascists) ภายใต้การนำของ[[ออสวอลด์ มอสลีย์]] (Oswald Mosley) เป็นต้น<ref name="carroll">{{cite book
|first=Carroll |last=Quigley
|title=Tragedy and Hope
|date=1966
|page=619
|url=https://archive.org/details/TragedyAndHope_201709
}}</ref>
 
== หมายเหตุ ==