ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท."

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 2 as dead.) #IABot (v2.0.9.2
บรรทัด 32:
|หัวหน้า1_ชื่อ = [[ปริญญา แสงสุวรรณ]]​
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = รองประธานกรรมการ
|หัวหน้า2_ชื่อ = [[สุเทพ พันธุ์เพ็ง]]​<ref>[https://www.srtet.co.th/index.php/th/about-history/2015-12-03-10-55-45 คณะผู้บริษัท]{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
|หัวหน้า2_ตำแหน่ง = กรรมการผู้อำนวยการใหญ่
|หัวหน้า3_ชื่อ = ศุภกร ยุทธวงษ์สุข
บรรทัด 85:
ต่อมาในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจเห็นชอบให้พัฒนาบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อเดินรถและซ่อมบำรุงโครงการ[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] ตามที่[[กระทรวงคมนาคม]]เสนอ โดยให้ปรับปรุงแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการหารายได้และทำกำไร และให้กระทรวงคมนาคมแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานเทียบเท่าเอกชน เป็นไปตามแผนการดำเนินงานและตัวชี้วัดที่กำหนด โดยไม่เป็นภาระของภาครัฐในอนาคต<ref>{{Cite web|url=https://www.prachachat.net/finance/news-327109|title=คนร.ไฟเขียวตั้งบริษัทลูกของ รฟท. 2 บริษัท เพื่อบริหารสินทรัพย์และเดินรถไฟฟ้าสายสีแดง|author=[[ประชาชาติธุรกิจ]]|website=www.prachachat.net|date=15 พฤษภาคม 2562|accessdate=24 มีนาคม 2563}}</ref>
 
ปัจจุบันมีนายปริญญา แสงสุวรรณ เป็นรองประธานกรรมการบริหาร<ref>[https://www.srtet.co.th/index.php/th/about-history/2015-12-03-10-53-47 คณะกรรมการบริษัท]{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==