ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระศรีศาสดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ohmaphat (คุย | ส่วนร่วม)
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก +จัดรูปแบบไม้ยมกด้วยสจห.
บรรทัด 7:
| type_of_object = พระพุทธรูป
| school_of_art = [[ปางมารวิชัย]] [[ศิลปะสุโขทัย]]
| width = 4 [[ศอก]] 1 [[คืบ]] 8 [[นิ้ว]]
| tall =
| material = [[สำริด]] ลงรักปิด[[ทอง]]
บรรทัด 15:
}}
 
'''พระศรีศาสดา''' หรือ '''พระศาสดา''' เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านทิศใต้ [[วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] ปัจจุบันประดิษฐานอยู ณ มุขหน้าวิหารพระศาสดาคู่กับ[[พระพุทธไสยา]] ที่ประดิษฐานอยู่ ณ มุขหลัง [[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] สันนิษฐานกันว่าน่าจะสร้างขึ้นสมัย[[พระมหาธรรมราชาที่ 1]] ([[พญาลิไท]]) พร้อมกับ [[พระพุทธชินราช]] [[พระพุทธชินสีห์]] และ[[พระเหลือ]]
 
== ประวัติ ==
=== ประวัติการสร้าง ===
พระศรีศาสดา ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด คงมีแต่[[พงศาวดารเหนือ]] ซึ่งเป็นเอกสารที่เล่าถึงตำนานเมืองเหนือเรื่องต่างๆต่าง ๆ สมัยกรุงศรีอยุธยา ถูกเรียบเรียงขึ้นใหม่โดยพระวิเชียรปรีชา (น้อย) ในปีพุทธศักราช ๒๓๕๐2350 ที่อ้างถึงกษัตริย์เชียงแสนพระนามพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกเป็นผู้สร้าง พร้อมกับการสร้างเมืองพิษณุโลกและพระพุทธรูปอีก 2 องค์คือ[[พระพุทธชินสีห์]]และ[[พระพุทธชินราช]]
 
พุทธศักราช ๒๔๐๙2409 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้มีพระราชนิพนธ์เพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติการสร้างพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และพระศรีศาสดา ในชื่อ ''"ตำนานพระพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และพระศรีศาสดา"'' ในหนังสือวชิรญาณวิเศษ โดยใช้พงศาวดารเหนือในการอ้างอิงจึงทำให้มีเนื้อหาหลักคล้ายคลึงกัน แต่เพิ่มเติมการสร้างพระเหลือเข้าไป และมีการระบุศักราชในการสร้างพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ไว้ดังนี้ พระพุทธชินสีห์และพระศรีศาสดาหล่อในปีพุทธศักราช ๑๔๙๘1498 และพระพุทธชินราชหล่อขึ้นในปีพุทธศักราช ๑๕๐๐1500 (หย่อนอยู่ 7 วัน)
 
พุทธศักราช ๒๔๒๓2423 ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์]] ได้ทรงแต่งตำนานการสร้างพระศรีศาสดาขึ้นอีกสำนวนหนึ่ง ชื่อ ''"พงษาวดารเหนือ : เป็นลิลิตเรื่องนิทานพระร่วง แลนิทานพระเจ้าธรรมไตรปิฎก นิทานพระชินศรี พระชินราช พระศาสดา"'' ซึงมีเนื้อเรื่องเช่นเดียวกับพงศาวดารเหนือและพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างพระบรมราชจักรีวงศ์กับพระพุทธชินราชเข้าไปด้วย
 
[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ได้มีพระดำริเกี่ยวกับประวัติการสร้างพระศรีศาสดาจากหลักฐานทางพุทธศิลป์นำมาเปรียบเทียบกับพงศาวดารเหนือว่าพระศรีศาสดา ถูกสร้างขึ้นในสมัยสุโขทัย เนื่องจากพุทธศิลป์อย่างพระพุทธรูปสุโขทัยระคนกับพุทธศิลป์เชียงแสนแต่มีพัฒนาการไปกว่าพระพุทธรูปที่มีอยู่เดิม และช่างผู้สร้างพระพุทธชินราชกับพระพุทธชินสีห์นั้นเป็นช่างเดียวกัน หากแต่พระศรีศาสดาเป็นช่างอื่นจากลักษณะประติมากรรมของพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ที่ปรากฏ แต่จะสร้างพร้อมกันทั้ง 3 องค์หรือไม่นั้นไม่ทราบแน่ชัด และเมื่อพิจารณาช่วงเวลาการสร้างแล้วทรงคาดว่าพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์น่าจะสร้างในรัชสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ในปีพุทธศักราช ๑๙๐๐1900 มิใช่พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก โดยประทานเหตุผลว่า ''"พระเจ้าแผ่นดินซึ่งปรากฏพระเกียรติในเรื่องพระไตรปิฎกนั้นมีแต่พระองค์เดียวคือพระมหาธรรมราชาลิไทย...พระมหาธรรมราชานี้เองที่พงศาวดารเหนือเรียกว่า พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก"''
 
อย่างไรก็ตามความเห็นที่ได้รับการยอมรับมากที่สุด ณ ขณะนี้คือความเห็นในแนวทางเดียวกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่เชื่อว่าพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์นี้ถูกสร้างขึ้นในราวพุทธศักราช ๑๙๐๐1900 ในรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)
 
=== การเคลื่อนย้ายที่ประดิษฐาน ===
ในสมัยรัตนโกสินทร์ เจ้าอาวาส[[วัดบางอ้อยช้าง]] [[จังหวัดนนทบุรี]] ให้อัญเชิญพระศรีศาสดาจากเมืองพิษณุโลกมาไว้ที่วัด เนื่องจากเห็นว่าวิหารที่ประดิษฐานพระศรีศาสดาอยู่เดิมนั้นชำรุดทรุดโทรมเป็นอย่างมาก และไม่มีผู้ใดดูแลพระศรีศาสดา เพราะผลพวงจากสงครามอะแซหวุ่นกี้ในปี[[พุทธศักราช ๒๓๑๘2318]] คราวเมืองพิษณุโลกถูกเผา ประกอบกับพระศรีศาสดานี้มีลักษณะดีและมีความงดงาม ครั้น[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]]ทราบเรื่อง จึงให้อัญเชิญพระศรีศาสดาจาก[[วัดบางอ้อยช้าง]]มาไว้ที่[[วัดประดู่ฉิมพลี]] ซึ่งเป็นวัดที่ท่านสร้างขึ้น
 
ต่อมา[[พุทธศักราช ๒๓๙๖]]2396 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงทราบว่ามีการชะลอพระศรีศาสดามายังกรุงเทพมหานคร จึงมีพระราชดำริว่าพระศรีศาสดานั้นสร้างขึ้นพร้อมกับ[[พระพุทธชินสีห์]] ซึ่งเมื่อครั้งอยู่ ณ เมืองพิษณุโลกก็เคยประดิษฐานอยู่ ณ วัดเดียวกันมาก่อน ต่อมา[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ]]ทรงให้อัญเชิญ[[พระพุทธชินสีห์]]มาประดิษฐานไว้ ณ พระอุโบสถ[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] พระศรีศาสดาก็ควรประดิษฐานอยู่ ณ [[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]]เช่นเดียวกับ[[พระพุทธชินสีห์]] เสมือนเป็นพระพุทธรูปผู้พิทักษ์[[พระพุทธชินสีห์]] แต่ยังมิได้สร้างสถานที่ประดิษฐานจึงโปรดให้อัญเชิญไปประดิษฐานยังมุขหน้าพระอุโบสถ[[วัดสุทัศนเทพวราราม]]ไปพลางก่อน ครั้นสร้างพระวิหารพระศาสดาจวนแล้วเสร็จจึงโปรดให้อัญเชิญพระศรีศาสดามาประดิษฐาน เมื่อ[[พุทธศักราช ๒๔๐๗]]2407
 
ต่อมา[[พุทธศักราช ๒๓๙๖]] [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงทราบว่ามีการชะลอพระศรีศาสดามายังกรุงเทพมหานคร จึงมีพระราชดำริว่าพระศรีศาสดานั้นสร้างขึ้นพร้อมกับ[[พระพุทธชินสีห์]] ซึ่งเมื่อครั้งอยู่ ณ เมืองพิษณุโลกก็เคยประดิษฐานอยู่ ณ วัดเดียวกันมาก่อน ต่อมา[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ]]ทรงให้อัญเชิญ[[พระพุทธชินสีห์]]มาประดิษฐานไว้ ณ พระอุโบสถ[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] พระศรีศาสดาก็ควรประดิษฐานอยู่ ณ [[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]]เช่นเดียวกับ[[พระพุทธชินสีห์]] เสมือนเป็นพระพุทธรูปผู้พิทักษ์[[พระพุทธชินสีห์]] แต่ยังมิได้สร้างสถานที่ประดิษฐานจึงโปรดให้อัญเชิญไปประดิษฐานยังมุขหน้าพระอุโบสถ[[วัดสุทัศนเทพวราราม]]ไปพลางก่อน ครั้นสร้างพระวิหารพระศาสดาจวนแล้วเสร็จจึงโปรดให้อัญเชิญพระศรีศาสดามาประดิษฐาน เมื่อ[[พุทธศักราช ๒๔๐๗]]
 
== ลักษณะทางพุทธศิลป์และการจัดหมวดหมู่ ==
เส้น 40 ⟶ 39:
 
=== การจัดหมวดหมู่ ===
พระศรีศาสดา ถูกจัดให้อยู่ในพระพุทธรูปหมวดพระพุทธชินราช (พระพุทธรูปสกุลช่างเมืองพิษณุโลก ซึ่งมีลักษณะต่างจากหมวดใหญ่เล็กน้อย คือพระพักตร์ที่อวบอ้วนมากกว่าและที่สำคัญคือการทำปลายนิ้วพระหัตถ์ทั้ง 4 ยาวเสมอกัน ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปหมวดนี้) ถือเป็น 1 ใน 4 หมวดของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย
 
== ตำนาน ==
{{ต้องการอ้างอิง}}
=== ตำนานการสร้าง ===
ศุภมัสดพุทธศักราชล่วงแล้ว ๒๔๐๐2400 พยัคฆสังวัจฉะระ จุลศักราช ๑๒๒๘1228 ปีขาล อัฐศก ดำเนินเรื่องพระชินราช พระชินศรี พระศรีศาสดา พุทธปฏิมากร 3 พระองค์ซึ่งดำรงอยู่ในวัดมหาธาตุ เมืองพิษณุโลกนั้น ได้มีคำโบราณเล่าและเขียนจดหมายสืบมา ในราชพงศาวดารเมืองเหนือว่า
 
 
พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกเจ้าแผ่นดินเมืองเชียงแสนได้ทรงสร้างไว้มีความว่า เดิมเมืองเชียงแสนได้ทรงสร้างไว้ มีความเดิมว่า เดิมเมืองเชียงแสนแต่ก่อนจุลศักราช ๔๐๐400 พุทธศาสนการล่วงได้ ๑๕๘๑1581 ขึ้นไป เป็นเมืองใหญ่มีเจ้านายครอบครองสืบมาหลายชั่วเจ้าแผ่นดิน และมีอำนาจปกแผ่ไปในเมืองลาวต่างๆต่าง ๆ ข้างฝ่ายเหนือแลมีอำนาจมา เขตต์แดนสยามฝ่ายเหนือมีเจ้าแผ่นดินเมืองเชียงแสน พระองค์หนึ่งนามว่าพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก เพราะท่านได้ทรงร่ำเรียนพระคำภีร์ในพระพุทธศาสนาคือ พระวินัย พระสูตร พระปรมัตถ์มาก และได้จัดการพระพุทธศาสนาได้รุ่งเรืองเจริญมากในเมืองเชียงแสนนั้น ท่านนั้นได้พระราชเทวีมีพระนามว่า พระนางประทุมเทวี เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้ากรุงสยามพระองค์หนึ่งในวงค์พระเจ้าบาธรรมราชครองเมืองศรีสัชนาลัย คือเมืองสวรรคโลกในเวลานั้น เป็นพระมหาเหษีท่านนั้นมีพระราชบุตร 2 พระองค์ ทรงพระนามเจ้าชาติสาครหนึ่ง เจ้าไกรสรสิงหราชหนึ่ง
 
 
เส้น 54 ⟶ 53:
 
 
จ่านกร้องจ่าการบุญกับบ่าวไพร่กราบทวายบังคมลาออกจากเมืองเชียงแสน เที่ยวมาถึงปลายเขตต์แดนเมืองขึ้นเมืองเชียงแสนข้างทิศตะวันออกเฉียงใต้ เห็นเขตต์แดนซึ่งขึ้นแก่เมืองเชียงแสนโอบอ้อมลงมาข้างแม่น้ำตะวันออก น้ำไหลลงมาร่วมปากน้ำโพในแดนสยาม เห็นกาลว่าจะต้องสร้างเมืองใหญ่ไว้ในลำน้ำตะวันออกนั้นกับชาวสยามซึ่งตั้งกรุงอยู่เมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัยสวรรคโลกใกล้เคียงข้างตะวันตก จึงเลือกที่ตำบลบ้านพราหมณ์ซึ่งครั้งอยู่สองข้างฝั่งแม่น้ำเป็นทิศตะวันตกแต่เขาสมอแครลงมา เห็นว่าที่บ้านพราหมณ์ควรจะสร้างเป็นเมืองขึ้นได้ จึงคิดจะสร้างเมืองจะให้มีกำแพงสองฟากน้ำ แลจะให้มีป้อมจดฝั่งแม่น้ำตรงกันสองฟากเมืองนั้น จ่ากร้อง จ่าการบุญได้คิดการกะแผนที่แลมีหนังสือไปกราบทูลถวายแผนที่และชี้แจงถิ่นฐาน และเหตุผลให้สมเด็จพระเจ้าศรีธรรมไตรปฎกทราบความ สมเด็จพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกทรงเห็นชอบด้วย จึงกะเกณฑ์ไพร่พลในเมืองเชียงแสนและเมืองขึ้นเป็นอันมากสมควรพอเป็นกำลังจะมาสร้างเป็นเมืองใหญ่แล้วเร็วๆเร็ว ๆ ได้แล้ว ให้คุมเสบียงอาหารและสิ่งของและเครื่องเรือนตามแผนที่ซึ่งกะการณ์ไว้นั้นได้จัดการในเวลาเช้าวัน 6 เดือน 3 ขึ้น 1 ค่ำ ปีฉลู เบ็ญจศกจุลศักราช ๓๑๕315 พระพุทธศักราชล่วงแล้ว ๑๔๙๖1496 เวลาวันนี้ เป็นเวลาชาตาเมืองนั้น เมื่อการทำไปจ่ากร้อง จ่าการบุญและนายดาบและนายกองก็มีใบกรอกรายงานไปกราบทูลแก่พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกให้ทราบเนืองๆเนือง ๆ จนการกำแพงและป้อมสองฟากน้ำจวนจะสำเร็จ
 
 
เส้น 60 ⟶ 59:
 
 
ในครั้งนั้นพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก มีพระราชสาสน์ให้ทูลเชิญไปถวายสมเด็จพระเจ้ากรุงสยาม ณ เมืองศรีสัชนาลัยสวรรคโลก ซึ่งเป็นเมืองเดิมของพระราชเทวี ขอช่างพราหมณ์ช่วยปั้นหุ่นพระพุทธรูปเพราะเวลานั้นมีคนเล่าภาสรรเสริญช่างเมืองศรีสัชนาลัยสวรรคโลกมาก ว่าทำพระพุทธรูปได้งามๆดีๆงาม ๆ ดี ๆ ก็เมืองสร้างใหม่นั้นอยู่ไม่ไกลนัแต่เมืองศรีสัชนาลัยสวรรคโลก พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกจึงทรงพระวิตกว่า ถ้าจะทำพระพุทธรูปขึ้นมาโดยลำพังฝีมือลาวเชียงแสน กลัวเกลือกจะไม่งามดีสู้พระเจ้ากรุงสยามเมืองสวรรคโลก จึงโปรดให้ช่างพราหมณ์ฝีมือดี 5 นาย มีชื่อจดหมายไว้ในหนังสือโบราณ บาอินทร์ 1 บาพรหม 1 บาพิษณุ 1 บาราชสังข์ 1 บาราชสังข์ 1 บาราชกุศล 1 ช่างพราหมณ์ 5 นายกับทูตถึงเมืองสร้างใหม่แล้ว พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกให้ช่างเมืองสวรรคโลกสมทบกับช่างชาวเชียงแสน และชาวเมืองหริภุญชัยช่วยกันหุ่นพระพุทธรูปสามองค์ซึ่งซวดทรงสัณฐานคล้ายกันแต่ประมาณนั้นเป็นสามขนาด คือพระองค์หนึ่ง ตั้งพระนามเริ่มว่าพระพุทธชินราช หน้าตัก 5 ศอกคือ 5 นิ้ว มีเศษอีกพระองค์ 1 เริ่มพระนามไว้ว่าพระพุทธชินศรี หน้าตัก 5 ศอกคืบ 4 นิ้ว อีกพระองค์ 1 เริ่มพระนามไว้ว่าพระศรีศาสดา หน้าตัก 4 ศอกคืบ 6 นิ้ว มีสัญฐานอาการคล้ายกัน อย่างพระพุทธรูปเชียงแสน ไม่เอาอย่างพระพุทธรูปในเมืองศรีสัชนาลัยสวรรคโลกและเมืองสุโขทัย ที่ทำนิ้วสั้นยาวไม่เสมอกันอย่างมือคน ถึงพระลักษณะอื่นก็ปนๆปน ๆ เป็นอย่างเชียงแสนบ้าง เป็นอย่างศรีสัชนาลัยสวรรคโลกสุโขทัยบ้าง ช่างทั้งปวงและคนดูเป็นอักมากเห็นพร้อมกันว่าพระพุทธรูปสามพระองค์นี้งามดีหาที่จะเสมอมิได้ แล้วจึงให้เข้าดินอ่อนดินแก่ชะนวนตรึงทวยรัดปาอกให้แน่นหนาพร้อมมูล
 
 
บริบูรณ์เสร็จแล้วๆแล้ว ๆ ให้รวบรวมจัดซื้อจัดหาทองคำสัมฤทธิ์อย่างดีได้มาเป็นอันมากหลายร้อยหาบแล้ว ครั้นหุ่นเห็นพระพุทธรูปสามองค์เข้าดินสำเร็จแล้ว กำหนดมงคลฤกษ์จะได้เททอง ณ วัน 5 เดือน 4 ขึ้น ๑๕15 ค่ำ ปีเถาะสัปคศกจุลศักราช ๓๑๗317 ปี สมเด็จพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก จึงดำรัสสั่งให้อาราธนาชุมนุมพระภิกษุสงฆ์ที่อยู่ในถิ่นที่มีโดยรอบคอบใกล้เคียงเมืองนั้น ทั้งฝ่ายคณะคามวารีอรัญวาสี มีพระอุบาฬีกาและพระศิริมานน์วัดเขาสมอแครงเป็นประธาน และให้สวดพระปริตพุทธมนต์มหามงคลทำสัจกิริยา อาราธนาเทพยดา ให้ช่วยในการนั้น และให้ชีพ่อพราหมณ์ทำการมงคลพิธี ตามพราหมณ์ศาสตร์ด้วยช่วยในการพระราชประสงค์ก็แล้วจึงเททองหล่อพระพุทธรูปสามพระองค์ ด้วยเนื้อทองสัมฤทธิ์โบราณแท้ ครั้นเททองเต็มแล้วพิมพ์เย็นแกะพิมพ์ออก
 
 
รูปพระชินศรี พระศรีศาสดาสองพระองค์บริบูรณ์ดี มีน้ำทองแล่นตลอดเสมอกันการ เป็นสำเร็จ แต่รูปพระชินราชเจ้านั้นไม่ลงบริบูรณ์ ช่างได้ทำหุ่นรูปใหม่ และหล่ออีกถึงสามครั้งก็มิได้สำเร็จเป็นองค์พระ สมเด็จพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกโทมมัสนัก แล้วทรงตั้งสัจกิริยาธิฐานอ้างบุญบารมีแล้วรับสั่งให้พระนางประทุมเทวีตั้งสัจกิริยาธิฐานด้วย ครั้นนั้นประขาวคนหนึ่งเข้ามาช่วยปั้นหุ่นทำการแข็งแรง ประขาวคนนั้นเป็นใช้ใบ้ไม่พูด ใครถามชื่อตำบลบ้านก็ไม่บอกไม่มีใครรู้จักช่วยทำการทั้งกลางวันกลางคืน ไม่มีเวลา ครั้นรูปหุ่นงามดีสำเร็จเข้าดินพิมพ์แห้งแล้ว กำหนดมงคลฤกษ์จะได้เททอง ณ วัน 5 ค่ำ เดือน 6 ขึ้น 8 ค่ำ ปีมะเส็งนพศก จุลศักราช ๓๑๙319 พุทธศาสนากาลล่วงแล้ว ๑๕๐๐1500 หย่อนอยู่เจ็ดวัน จึงดำรัสสั่งให้อาราธนาชุมนุมพระภิกษุสงฆ์ และชีพ่อพราหมณ์ทำการมงคลพิธีเหมือนครั้งก่อน แล้วเททองก็เต็มบริบูรณ์ ประขาวที่มาช่วยทำนั้นก็เดินออกจากที่นั้นไป แล้วออกจากประตูเมืองข้างทิศเหนือหายไปที่ตำบลหนึ่ง บ้านนั้นได้ชื่อว่าบ้านตาประขาวหายจนทุกวันนี้ พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกเมื่อต่อยพิมพ์พระพุทธรูปออกเห็นบริบรูณ์งามดี จึงมีรับสั่งให้ข้าราชการไปตามสืบหาตัวประขาวนั้น จะมาพระราชทานรางวัลก็ไม่ได้ตัวเลย
 
 
เส้น 75 ⟶ 74:
 
 
พระองค์เสด็จประทับสำราญพระราชหฤทัย อยู่ที่นั้นนานถึง 7 ปีเศษ บ้านเมืองมีผู้คนอยู่แน่นหนาบริบูรณ์แล้ว จึงเสด็จกลับคืนยังพระนครเชียงแสนทรงพระราชดำริว่า เมืองพระพิษณุโลกจะให้พระราชโอรสเสด็จไปอยู่ดั่งพระราชชดำริไว้แต่เดิมก็เห็นว่าเป็นทางไกล พระองค์ก็ทรงพระชนมายุเจริญถึงปัจฉิมวัยแล้วจึงโปรดให้เจ้าชาตินครเสด็จไปครองเมืองเชียงรายเป็นที่ใกล้ ให้เจ้าไกรสรราช เสด็จไปครองเมืองละโว้ ซึ่งเป็นเมืองไกลในทิศใต้ใกล้ทะเลและไปขอรับเจ้าสุนทรเทวี เป็นพระราชธิดาพระเจ้ากรุงสยาม ณ กรุงศรีสัชนาลัยสวรรคโลก มาอภิเษกเป็นพระมเหษีของเจ้าไกรสรราช ณ เมืองละโว้ แล้วจึงรับสั่งราชอำมาตย์ไปรับเจ้าดวงเกรียงกฤษณราช มาแต่เมืองกำโพชา มาอภิเษกกับพระราชธิดาของพระองค์แล้ว โปรดให้ไปครองเมืองใหม่นั้น พระราชทานนามว่าเมืองเสนาราชนคร แล้วจึงรับสั่งให้แต่งเจ้าชาติสาครไปครองเมืองเชียงรายอยู่ใกล้พระนครเชียงแสน
 
 
พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกบรมบพิตร พระชนม์ยืนได้ ๑๕๐150 ปี แล้วจึงเสด็จสวรรคต อำมาตย์ทั้งปวงส่งข่าวสารไปทูลเจ้าชาตสาคร ณ เมืองเชียงรายเสด็จมาจากเมืองเชียงรายถวายพระเพลิงพระศพพระบิดาแล้ว ขึ้นเสวยราชสมบัติในเมืองเชียงแสนสืบพระวงศ์มาหลายชั่วพระเจ้าแผ่นดินจึงสาบสูญสิ้นพระวงศ์ไป
 
=== ตำนานอื่นๆอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ===
พุทธศักราช ๒๓๗๒2372 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพได้อัญเชิญพระพุทธชินสีห์ลงมาประดิษฐานยังกรุงเทพมหานคร ประกอบกับในช่วงเวลาไล่เลี่ยกันพระศรีศาสดาก็ถูกอัญเชิญลงมาด้วยเช่นกันทำให้ราษฎรชาวพิษณุโลกเศร้าโศกเสียใจเป็นอันมาก ต่อมาเกิดฝนทิ้งช่วงที่เมืองพิษณุโลกเป็นเวลากว่า 2 ปีและหลังจากฝนทิ้งช่วงแล้ว 1 ปี สมเด็จพระบวรราชเจ้าฯ ประชวรและสิ้นพระชนม์ ราษฎรต่างพากันโจษจันว่าเป็นเพราะพระองค์อัญเชิญพระพุทธชินสีห์ลงมาจากเมืองพิษณุโลก
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.watbowon.com/all/index6.5.htm| วิหารพระศาสดา วัดบวรนิเวศวิหาร]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}
* บัญชีแนบท้ายระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการก่อสร้างอนุสาวรีย์แห่งชาติ และการจำลองพระพุทธรูปสำคัญ [[พ.ศ. ๒๕๒๐2520]]
* พิริยะ ไกรฤกษ์. (๒๕๕๑2551). ลักษณะไทย 1 พระพุทธปฏิมา อัตลักษณ์พุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
* ชาตรี ปีะกิตนนทการ. (๒๕๕๑2551). พระพุทธชินราชในประวัติศาสตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
* ดำรงราชานุภาพ. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยา. (๒๕๔๘2548). ตำนานพระพุทธรูปสำคัญ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
 
[[หมวดหมู่:พระพุทธรูปในกรุงเทพมหานคร|ศรีศาสดา]]