ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระศรีศาสดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
Ohmaphat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 30:
 
=== การเคลื่อนย้ายที่ประดิษฐาน ===
ในสมัยรัตนโกสินทร์ เจ้าอาวาส[[วัดบางอ้อยช้าง]] [[จังหวัดนนทบุรี]] ให้อัญเชิญพระศรีศาสดาจากเมืองพิษณุโลกมาไว้ที่วัด เนื่องจากเห็นว่าวิหารที่ประดิษฐานพระศรีศาสดาอยู่เดิมนั้นชำรุดทรุดโทรมเป็นอย่างมาก และไม่มีผู้ใดดูแลพระศรีศาสดา เพราะผลพวงจากสงครามอะแซหวุ่นกี้ในปี[[พุทธศักราช ๒๓๑๘]] คราวเมืองพิษณุโลกถูกเผา ประกอบกับพระศรีศาสดานี้มีลักษณะดีและมีความงดงาม ครั้น[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]]ทราบเรื่อง จึงให้อัญเชิญพระศรีศาสดาจาก[[วัดบางอ้อยช้าง]]มาไว้ที่[[วัดประดู่ฉิมพลี]] ซึ่งเป็นวัดที่ท่านสร้างขึ้น
 
 
ต่อมา[[พุทธศักราช ๒๓๙๖]] [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงทราบว่ามีการชะลอพระศรีศาสดามายังกรุงเทพมหานคร จึงมีพระราชดำริว่าพระศรีศาสดานั้นสร้างขึ้นพร้อมกับ[[พระพุทธชินสีห์]] ซึ่งเมื่อครั้งอยู่ ณ เมืองพิษณุโลกก็เคยประดิษฐานอยู่ ณ วัดเดียวกันมาก่อน ต่อมา[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ]]ทรงให้อัญเชิญ[[พระพุทธชินสีห์]]มาประดิษฐานไว้ ณ พระอุโบสถ[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] พระศรีศาสดาก็ควรประดิษฐานอยู่ ณ [[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]]เช่นเดียวกับ[[พระพุทธชินสีห์]] เสมือนเป็นพระพุทธรูปผู้พิทักษ์[[พระพุทธชินสีห์]] แต่ยังมิได้สร้างสถานที่ประดิษฐานจึงโปรดให้อัญเชิญไปประดิษฐานยังมุขหน้าพระอุโบสถ[[วัดสุทัศนเทพวราราม]]ไปพลางก่อน ครั้นสร้างพระวิหารพระศาสดาจวนแล้วเสร็จจึงโปรดให้อัญเชิญพระศรีศาสดามาประดิษฐาน เมื่อ[[พุทธศักราช ๒๔๐๗]]
 
== ลักษณะทางพุทธศิลป์และการจัดหมวดหมู่ ==