ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามุนมู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 55:
{{กษัตริย์แห่งอาณาจักรชิลลา 2}}
 
'''พระเจ้ามุนมู''' ({{เกาหลี|문무왕}}, {{reign|661|681}}<ref>[[Il-yeon]]: ''Samguk Yusa: Legends and History of the Three Kingdoms of Ancient Korea'', translated by Tae-Hung Ha and Grafton K. Mintz. Book Two, page 79. Silk Pagoda (2006). ISBN 1-59654-348-5</ref>) เป็นกษัตริย์องค์ที่สามสิบ 30 แห่งอาณาจักรศิลลา พระองค์มักจะถูกมองว่าเป็นกษัตริย์องค์แรกในยุค[[อาณาจักรรวมชิลลา]] แต่พระเจ้ามุนมูเป็นพระราชโอรสของ[[พระเจ้ามูยอล]] กษัตริย์พระองค์แรกองค์ที่ดำรงตำแหน่งกษัตริย์พระองค์เดียวบนคาบสมุทรเกาหลี ({{lang-ko|통일29 신라}})และพระราชินีมุนมย็อง ที่ได้รวมซึ่งเป็นน้องสาวของจอมพล[[อาณาจักรโคกูรยอคิม ยูชิน]] ในรัชสมัยของพระราชบิดา พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นปาจินชัน ซึ่งรับผิดชอบกิจการทางทะเล และมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาความสัมพันธ์ทางการทูตของราชอาณาจักรกับ[[อาณาจักรแพกเจราชวงศ์ถัง]]ของจีน เข้าเป็นหนึ่งเดียวกับซิลลาโดยอาณาจักรแห่งนี้ พระองค์มีราชธานีอยู่ที่พระนามเดิมว่า คยองจูเจ้าชายบ็อพมิน และใช้พระนามว่า มุนมู เมื่อพระองค์สืบราชสันตติวงศ์ต่อจากพระราชบิดา หลังจากที่พระองค์สวรรคตแล้ว พระองค์ก็ได้รับพระสมัญญาว่าราชามังกร
 
พระเจ้ามุนมู แห่ง อาณาจักรซิลลา เป็นพระราชโอรสของ[[พระเจ้ามูยอล]]และ พระมเหสีมุนมยอง ผู้เป็นน้องสาวของ[[คิม ยูชิน]] เมื่อครั้งพระองค์ดำรงพระยศเป็นองค์ชายบอบมิน ได้ก่อตั้งพาจินชาน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบกิจการทางทะเลและมีบทบาทสำคัญในการเชื่อมความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศจีน เมื่อพระองค์ได้ครองราชย์สืบต่อจาก[[พระเจ้ามูยอล]]จึงเปลี่ยนพระนามมาเป็นพระเจ้ามุนมู ในรัชสมัยของพระองค์นั้นได้มีสงครามครั้งใหญ่ ถือได้ว่าเป็นสงครามที่ใหญ่ที่สุดตั้งแต่ก่อตั้ง[[อาณาจักรซิลลา]]มาคือ [[สงครามชิลลา-ถัง]] โดยซิลลาเป็นฝ่ายชนะสงครามจึงมีอำนาจเหนือแคว้นต่างๆบน[[คาบสมุทรเกาหลี]]อย่างแท้จริง
 
ค.ศ. 660 ภายใต้การปกครองของพระเจ้ามูยอล ที่ครอบครองอำนาจทางการเมืองของอาณาจักรชิลลาได้อย่างเด็ดขาดและการนำทัพของนักการทหาร แต่ก็ มีกลุ่มที่ไม่พอใจในนโยบายการเป็นพันธมิตร กับถัง ซึ่งต้องการต่อต้าน ทหารจากถังและจักรพรรดิ์ถัง ที่เข้ามา แทรกแทรงการเมืองชิลลาซึ่งถึงกับมีการรวมจัดตั้ง กองกำลังขับไล่ พวกสนับสุนถังออกจากชิลลา และผู้นำกองทัพครั้งนั้น เป็นบุคคลที่ สำคัญที่สุดของชิลลา คือคิมยูชิน ซึ่งในขณะนั้น ดำรงค์ตำแหน่ง แดกักกัน และพระเจ้ามุนมู หรือองค์ชาย บอมมิน ในขณะนั้นเป็นรัชทายาท แต่ทั้ง 2 คนได้ ประกาศอุดมการณ์ อย่างชัดเจนว่าไม่ได้ก่อการกบฎแต่เพียงแต่ต้องการขับไล่ขุนนางที่สนับสนุนถังจนทำให้พระเจ้ามูยอลมีสายตาพร่ามัวทั้งนี้คิมยูชินยังได้ประกาศว่าหากพระเจ้ามูยอลยกทัพมาตนและพระเจ้ามูจะไม่ชี้ดาบไปที่พระองค์ ซึ่งขณะนั้น ได้ตั้งทัพอยู่ที่เมืองแทยาซองเมื่อครั้นที่พระเจ้ามูยอล ยกทัพไป คิมยูชิน และ พระเจ้ามุนมูตอนนั้น ยอมแพ้และถอยทัพไป เพื่อ ไม่ให้สู้รบกับพระราชา ซึ่งแสดงอุดมการณ์อย่างแน่ชัดว่าที่จัดตั้งทัพนั้นไม่ได้คิดจะก่อกบฎสาเหตุที่ทำให้ ทั้ง 3 ต้องผิดใจกันเนื่องจากขุนนางกลาโหม ซึ่งในขณะนั้น ควบคุมอำนาจในการทหาร ต้องการปลด องค์ชาบบ๊อพมิน และกำจัดคิมยูชิน โดยคอยยุแยง พระเจ้ามูยอลจึงทำให้เกิดการเข้าใจผิด
 
== อ้างอิง ==