ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิโยตีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Stirz117 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการเพิ่มอ้างอิง}}
[[ภาพไฟล์:The Halifax Gibbet - geograph.org.uk - 350422.jpg|220px|thumb|กีโยตีนในอังกฤษ]]
[[Fileไฟล์:Execution of Louis XVI.jpg|thumb|right|การประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16]]
[[Fileไฟล์:Exécution de Marie Antoinette le 16 octobre 1793.jpg|right|thumb|การประหาร พระราชินี[[มารี อ็องตัวแน็ต]] 16 ตุลาคม .ศ. 23351792]]
[[ภาพไฟล์:Anonymous - Portrait de Joseph-Ignace Guillotin (1738-1814), médecin et homme politique. - P1052 - Musée Carnavalet (cropped).jpg|220px|thumb|[[โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง]] ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน]]
 
'''กิโยตีน''' ({{lang-fr|guillotine}}) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์[[การประหารชีวิต]]ของ[[ฝรั่งเศส]] ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]เพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูป[[สี่เหลี่ยมคางหมู]] น้ำหนักประมาณ 40 กก. ใบมีดจะถูกแขวนไว้ในส่วนบนสุด ภายใต้ใบมีดจะเป็นส่วนที่ให้ผู้ถูกลงโทษวางศีรษะ เมื่อเชือกได้ถูกปล่อยหรือตัดลง ใบมีดที่หนักจะหล่นลงไม้ในระยะทางประมาณ 2.3 เมตร และตัดศีรษะผู้ถูกประหาร (ความสูงและน้ำหนักตามมาตรฐานกิโยตีนฝรั่งเศส)
บรรทัด 11:
นายแพทย์[[อ็องตวน หลุยส์]] สมาชิกสมาคมศัลยศาสตร์ (Académie Chirurgical) เป็นบุคคลที่คิดค้นการทำงานของเครื่องกิโยตีน โดยเครื่องกิโยตีนตอนแรกได้ใช้ชื่อว่า ลูยซง (Louison) หรือลูยแซ็ต (Louisette) แต่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "กิโยตีน" ตามชื่อของ ดร.[[โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง]] แพทย์ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้เสนอแนะการประหารชีวิตโดยการตัดคอ ภายหลัง ดร.กิโยตีน ได้เปลี่ยนนามสกุล เนื่องจากไม่ต้องการใช้ชื่อสกุลเป็นคำเดียวกับวิธีการประหารชีวิต ทั้งนี้ก่อน[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ผู้มีชื่อเสียงมักถูกตัดคอโดยดาบหรือขวาน ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไปจะถูกแขวนคอ หรือวิธีการประหลาดต่าง ๆ ในช่วงของ[[ยุคกลาง]] (เช่น ถูกเผาหรือมัดกับล้อไม้) ในการตัดคอ มีหลายครั้งที่ตัดคอไม่สำเร็จในดาบแรก ทำให้เกิดความทรมานต่อผู้ถูกประหารชีวิต การใช้กิโยตีนจะทำให้ผู้ถูกประหารชีวิตเจ็บปวดน้อยที่สุด ในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศส มีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนอย่างน้อย 20,000 คน โดยการประหารด้วยกิโยตีนถือเป็นที่สนใจของบุคคลทั่วไปเช่นกัน
 
กิโยตีนถือเป็นเครื่องประหารชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย จนกระทั่งยกเลิกกฎหมายประหารชีวิตในปี ค.ศ. 1881 อย่างไรก็ตาม ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ทวีปยุโรปได้ตกอยู่ภายใต้การยึดครองของ[[นาซีเยอรมนี]] นาซีได้นำเครื่องกิโยตีนมาใช้ในการประหารชีวิตผู้ที่ต่อต้านระบอบนาซีในเยอรมนี บุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในฝรั่งเศสในที่สาธารณะ คือ ออยเกิน ไวด์มันน์ (Eugene Weidmann) อายุ 31 ปี ฆาตกรสังหาร 6 ศพชาวเยอรมัน โดยถูกตัดศีรษะเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1939 เวลา 16.32 น. ภายนอก[[คุกแซ็ง-ปีแยร์]] (Saint-Pierre) ที่เมือง[[แวร์ซาย]] ส่วนบุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนและเป็นผู้ถูกประหารชีวิตคนสุดท้ายฝรั่งเศสใน คือ ฮามิดา จันดูบี (Hamida Djandoubi) อายุ 27 ปี ฆาตกรชาวตูนีเซียที่ลักพาตัว ทรมาน และสังหารเอลิซาเบธ บูสเกต์ อายุ 22 ปีโดยถูกตัดศีรษะที่ที่เรือนจำบัลเมต(Baumettes Prison) ในเมือง[[มาร์แซย์]] เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2520ค.ศ. 1977 เวลา 04:40 น.<ref>[https://www.jeuneafrique.com/263457/societe/etait-hamida-djandoubi-dernier-condamne-a-mort-execute-france-10-septembre-1977/ Qui était Hamida Djandoubi, le dernier condamné à mort exécuté en France, le 10 septembre 1977 ?]</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==