ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JrandWP (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 182.232.13.234 (talk) to last version by Thingofme
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 42:
ส่วนแบ่งทางการตลาดของสมาร์ตโฟนแอนดรอยด์ นำโดย[[ซัมซุง]] มากถึง 64% ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556<ref name="Tech">{{cite web|title=Android, Led By Samsung, Continues To Storm The Smartphone Market, Pushing A Global 70% Market Share|url=http://techcrunch.com/2013/07/01/android-led-by-samsung-continues-to-storm-the-smartphone-market-pushing-a-global-70-market-share/?ncid=tcdaily|work=TechCrunch|publisher=AOL Inc|accessdate=July 2, 2013|author=Ingrid Lunden|date=July 1, 2013}}</ref> เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 มีอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์มากถึง 11,868 รุ่น จาก 8 เวอร์ชันของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์<ref>{{cite web|last=Arthur|first=Charles|title=Android fragmentation 'worse than ever' – but OpenSignal says that's good|url=http://www.theguardian.com/technology/2013/jul/30/android-fragmentation-visualised-opensignal|publisher=The Guardian|accessdate=August 1, 2013|date=July 30, 2013}}</ref> ความสำเร็จของระบบปฏิบัติการทำให้เกิดคดีด้านการละเมิดสิทธิบัตรที่เรียกกันว่า "สงครามสมาร์ตโฟน" (smartphone wars) ระหว่างบริษัทผู้ผลิต<ref name="cnet2011">{{cite web|last=Reardon |first=Marguerite |url=http://news.cnet.com/8301-30686_3-20092399-266/google-just-bought-itself-patent-protection/ |title=Google just bought itself patent protection &#124; Signal Strength – CNET News |publisher=News.cnet.com |date=2011-08-15 |accessdate=2013-05-01}}</ref><ref name="tomsguide">{{cite web|author=Douglas Perry |url=http://www.tomsguide.com/us/google-android-installations-app-downloads,news-11861.html |title=Google Android Now on 135 Million Devices |publisher=Tomsguide.com |date=2011-07-16 |accessdate=2013-05-01}}</ref> ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 โปรแกรม 4.8 หมื่นล้านโปรแกรมได้รับการติดตั้งบนอุปกรณ์จากกูเกิล เพลย์<ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=1CVbQttKUIk |title=900 million Android activations! |publisher=YouTube |date=2013-03-06 |accessdate=2013-06-15}}</ref><ref>{{cite web|title=BBC Google activations and downloads update May 2013|url=http://www.bbc.co.uk/news/technology-22542725|work=News source|publisher=BBC News|accessdate=May 16, 2013}}</ref> และในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2556 มีอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 1 พันล้านเครื่อง ได้ถูกเปิดใช้งาน<ref>{{cite web|url=http://plus.google.com/+VicGundotra/posts/8CVJ79nPQwN |title=Vic Gundotra - Google+ - Just back from a whirlwind trip to Asia visiting our… |publisher=Plus.google.com |date= |accessdate=2013-09-03}}</ref>
 
jjj
== ประวัติ ==
{{see also|ประวัติรุ่นของแอนดรอยด์}}
 
บริษัทแอนดรอยด์ ก่อตั้งขึ้นที่พาโลอัลโต [[รัฐแคลิฟอร์เนีย]] ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 โดย[[แอนดี รูบิน]] (ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทแดนเจอร์), <ref name="AndyRubin">{{Cite news |url=http://www.nytimes.com/2007/11/04/technology/04google.html?_r=2&hp=&pagewanted=all |title=I, Robot: The Man Behind the Google Phone |last=Markoff |first=John |date=November 4, 2007 |work=The New York Times |accessdate=2012-02-15}}</ref> [[ริช ไมเนอร์]] (ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทไวลด์ไฟร์คอมมูนิเคชัน),<ref name="autogenerated1">{{Cite news |url=http://www.boston.com/business/technology/articles/2007/09/02/introducing_the_google_phone/ |title=Introducing the Google Phone |first=Scott |last=Kirsner |work=[[The Boston Globe]] |date=September 2, 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20100104054533/http://www.boston.com/business/technology/articles/2007/09/02/introducing_the_google_phone/ |archivedate=2010-01-04 |accessdate=2012-02-15 |url-status=live }}</ref> นิก เซียส์<ref>{{Cite news | url=http://www.wired.com/magazine/2011/04/mf_android/all/1 | title=How the Android Ecosystem Threatens the iPhone | work=Wired | date=April 2011 | accessdate=June 2, 2012 | author=Vogelstein, Fred}}</ref> (ซึ่งเคยเป็นรองผู้จัดการที่ทีโมบายล์) และ คริส ไวท์ (หัวหน้าฝ่ายออกแบบและการพัฒนาอินเตอร์เฟซ ที่เว็บทีวี)<ref name="AndroidInc" /> สำหรับการพัฒนานั้น จากคำพูดของรูบิน "โทรศัพท์มือถือที่มีความฉลาดขึ้นและตระหนักถึงสถานที่ของเจ้าของมากขึ้น"<ref name="AndroidInc" /> จุดประสงค์แรกของบริษัทคือการพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับ[[กล้องดิจิทัล]] แต่เมื่อถูกตระหนักว่าไม่ใช่ตลาดที่กว้างพอ และต่อมาได้เบี่ยงเบนความพยายามเพื่อที่จะทำระบบปฏิบัติการสำหรับสมาร์ตโฟน เพื่อแข่งกับ[[ซิมเบียน]] และ [[วินโดวส์โมบาย]] (ในขณะนั้น [[ไอโฟน]] ยังไม่ได้วางขาย)<ref>{{cite web|author=Chris Welch |url=http://www.theverge.com/2013/4/16/4230468/android-originally-designed-for-cameras-before-smartphones |title=Before it took over smartphones, Android was originally destined for cameras |publisher=The Verge |date=2013-04-16 |accessdate=2013-05-01}}</ref> แม้จะมีประวัติความสำเร็จของผู้ก่อตั้งและพนักงานของบริษัทในช่วงแรก บริษัทแอนดรอยด์ ได้ดำเนินการอย่างเงียบๆ ให้เห็นเพียงว่าเป็นบริษัทที่ผลิตระบบปฏิบัติการสำหรับโทรศัพท์มือถือ<ref name="AndroidInc" /> ในปีเดียวกัน รูบิน ไม่มีเงินเหลือแล้ว [[สตีฟ เพอร์ลแมน]] เพื่อนสนิทของรูบิน ได้ให้ยืมเงิน 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ โดยส่งเงินใส่ในซองมาให้ และ ปฏิเสธที่จะถือหุ้นในบริษัท<ref name="StevePerlman">{{cite web |url=http://www.businessweek.com/magazine/the-edison-of-silicon-valley-07272011.html |title=Steve Perlman's Wireless Fix |last=Vance |first=Ashlee |date=27 July 2011 |work=Bloomberg Businessweek |publisher=Bloomberg |accessdate=3 November 2012}}</ref>
 
[[กูเกิล]] ได้ซื้อกิจการบริษัทแอนดรอยด์ ในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เพื่อให้มาเป็นบริษัทย่อยในเครือของกูเกิล โดยบุคคลสำคัญของบริษัทแอนดรอยด์ ทั้ง รูบิน, ไมเนอร์ และ ไวท์ ยังอยู่กับบริษัทหลังจากถูกซื้อกิจการ<ref name="AndroidInc" /> มีผู้คนไม่มากที่รู้จักบริษัทแอนดรอยด์ ในช่วงเวลานั้น แต่หลายคนสันนิษฐานว่ากูเกิลกำลังวางแผนที่จะเข้ามาสู่ตลาดโทรศัพท์มือถือจากการซื้อกิจการครั้งนี้<ref name="AndroidInc" /> ที่กูเกิล รูบินนำทีมที่จะพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับโทรศัพท์มือถือซึ่งขับเคลื่อนโดย[[ลินุกซ์ เคอร์เนล]] ในตลาดมือถือของกูเกิล จะมีสัญญากับผู้ให้บริการเครือข่าย ต่อมากูเกิลได้เริ่มวางแผนในเรื่องของส่วนประกอบฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์ และผู้ให้บริการเครือข่าย<ref name="EngadgetMobileOS">{{cite web |url=http://www.engadget.com/2007/08/28/google-is-working-on-a-mobile-os-and-its-due-out-shortly |title=Google is working on a mobile OS, and it's due out shortly |last=Block |first=Ryan |work=[[Engadget]] |date=August 28, 2007 |accessdate=2012-02-17}}</ref><ref name="WSJ">{{cite news |url=http://online.wsj.com/article/SB118602176520985718.html |title=Google Pushes Tailored Phones To Win Lucrative Ad Market |last1=Sharma |first1=Amol |first2=Kevin J. |last2=Delaney |work=[[The Wall Street Journal]] |date=August 2, 2007 |accessdate=2012-02-17}}</ref><ref name="DT">{{cite web |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070703031543/http://www.directtraffic.org/OnlineNews/Google_admits_to_mobile_phone_plan_18094880.html |archivedate=2007-07-03 |url=http://www.directtraffic.org/OnlineNews/Google_admits_to_mobile_phone_plan_18094880.html |title=Google admits to mobile phone plan |work=directtraffic.org |publisher=Google News |date=March 20, 2007 |accessdate=2012-02-17 |url-status=live }}</ref>
 
ความตั้งใจของกูเกิล ที่จะเข้าสู่ตลาดเครื่องมือสื่อสาร อย่างโทรศัพท์มือถือได้มาถึงช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549<ref name="McKay">{{Cite news |last=McKay |first=Martha |url=http://record-bergen.vlex.com/vid/iphone-phone-linksys-versatile-cordless-62885923 |title=Can iPhone become your phone?; Linksys introduces versatile line for cordless service |work=[[The Record (Bergen County)]] |page=L9 |date=December 21, 2006 |accessdate=2012-02-21 |quote=And don't hold your breath, but the same cell phone-obsessed tech watchers say it won't be long before Google jumps headfirst into the phone biz. Phone, anyone?}}</ref> ตามรายงานของ[[บรรษัทการกระจายเสียงแห่งอังกฤษ|บีบีซี]] และ [[วอลล์สตรีตเจอร์นัล]] ได้ตั้งข้อสังเกตว่า กูเกิลพยายามที่จะผลิตโทรศัพท์มือถือที่ใช้สำหรับค้นหา และ ใช้[[โปรแกรมประยุกต์]] หรือ แอปพลิเคชันได้ และกูเกิลได้ทำงานอย่างหนักเพื่อสิ่งนี้ และมีข่าวลือว่า กูเกิลจะพัฒนาโทรศัพท์มือถือภายใต้ชื่อสินค้าของตนเอง บางคนก็สันนิษฐานว่ากูเกิลจะกำหนดคุณสมบัติต่างๆ ของโทรศัพท์มือถือ และส่งให้กับผู้ผลิต และ ผู้ให้บริการเครือข่าย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 อินฟอร์เมชันวีก (InformationWeek) ร่วมมือกับ เอแวลูเซิร์ฟ (Evalueserve) เพื่อที่จะศึกษารายงานของกูเกิลในการยื่นสิทธิบัตรเกี่ยวกับโทรศัพท์มือถือ<ref name="IWpatents">{{cite news |url=http://www.informationweek.com/news/showArticle.jhtml?articleID=201807587&cid=nl_IWK_daily |title=Google's Secret Patent Portfolio Predicts gPhone |last=Claburn |first=Thomas |work=[[InformationWeek]] |date=September 19, 2007 |accessdate=2012-02-17 |archive-date=2008-03-17 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080317142342/http://www.informationweek.com/news/showArticle.jhtml?articleID=201807587&cid=nl_IWK_daily |url-status=dead }}</ref><ref name="MNpatents">{{cite web |url=http://www.moconews.net/entry/419-googles-strong-mobile-related-patent-portfolio |title=Google's Strong Mobile-Related Patent Portfolio |last=Pearce |first=James Quintana |work=mocoNews.net |date=September 20, 2007 |accessdate=2012-02-17 |archive-date=2008-12-16 |archive-url=https://web.archive.org/web/20081216114815/http://www.moconews.net/entry/419-googles-strong-mobile-related-patent-portfolio/ |url-status=dead }}</ref>
 
ในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 [[โอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์]] ซึ่งเป็นกลุ่มพันธมิตรในด้านเทคโนโลยี ซึ่งรวมไปด้วย[[กูเกิล]] กับผู้ผลิตอุปกรณ์เช่น [[เอชทีซี]], [[โซนี่]] และ [[ซัมซุง]] รวมไปถึงผู้ให้บริการเครือข่ายเช่น [[สปรินต์ เน็กเทล]] และ [[ทีโมบายล์]] และบริษัทผลิตฮาร์ดแวร์เช่น [[ควอล์คอมม์]] และ [[เท็กซัสอินสตรูเมนส์]] ได้เปิดเผยในเป้าหมายเพื่อการพัฒนาโทรศัพท์มือถือที่มีมาตรฐานเปิด<ref name="AndroidAnnouncement" /> ในวันเดียวกัน แอนดรอยด์ได้เปิดตัวสินค้าชิ้นแรก ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มโทรศัพท์มือถือ สร้างบน[[ลินุกซ์ เคอร์เนล]] 2.6<ref name="AndroidAnnouncement" /> ส่วนโทรศัพท์มือถือเครื่องแรกที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์คือ[[เอชทีซี ดรีม]] เปิดตัวเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2551<ref name="HTC">{{Cite news |publisher=HTC |url=http://www.htc.com/www/press.aspx?id=66338&lang=1033 |title=T-Mobile Unveils the T-Mobile G1 – the First Phone Powered by Android |date=September 23, 2008 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20110712230204/http://www.htc.com/www/press.aspx?id=66338&lang=1033 |archivedate=2011-07-12 |accessdate=2012-02-17 |url-status=live }} AT&T's first device to run Android was the Motorola Backflip.</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2553 กูเกิลได้เปิดตัว [[กูเกิล เน็กซัส]] ซึ่งเป็นซีรีส์หรือตระกูลของอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์โดยไม่ปรับแต่งใดๆ จากผู้ผลิต ซึ่งผลิตโดยผู้ผลิตที่เป็นพาร์ตเนอร์กับกูเกิล โดยเอชทีซี ร่วมมือกับกูเกิล ในการเปิดตัวสมาร์ตโฟนเน็กซัสรุ่นแรก<ref>{{Cite news |url=http://www.guardian.co.uk/technology/2010/mar/14/google-mobile-phone-launch-delay |title=Google forced to delay British launch of Nexus phone |publisher=guardian.co.uk |date=March 14, 2010 |author=Richard Wray |location=London |accessdate=2012-02-17}}</ref> มีชื่อว่า [[เน็กซัสวัน]] โดยซีรีส์นี้จะได้รับการอัปเดตรุ่นใหม่ก่อนอุปกรณ์อื่นๆ กูเกิลได้เปิดตัวโทรศัพท์และแท็บเล็ต ซึ่งเป็นรุ่น[[เรือธง]]ของแอนดรอยด์ โดยจะใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์รุ่นล่าสุดของแอนดรอยด์ ต่อมาในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556 แอนดี รูบิน ได้ถูกย้ายจากฝ่ายแอนดรอยด์ ไปยังฝ่ายการผลิตใหม่ของกูเกิล<ref>{{cite web|author=Charles Arthur |url=http://www.guardian.co.uk/technology/2013/mar/13/andy-rubin-google-move |title=Andy Rubin moved from Android to take on 'moonshots' at Google &#124; Technology &#124; guardian.co.uk |publisher=Guardian |date=|accessdate=2013-03-14}}</ref> ซึ่งตำแหน่งของรูบิน ถูกแทนที่ด้วย[[ซันดาร์ พิชัย]] ที่จะทำงานในตำแหน่งหัวหน้าของฝ่ายกูเกิล โครมด้วย ซึ่งเขาเป็นผู้พัฒนาโครมโอเอส<ref>{{cite web|last=Page |first=Larry |url=http://googleblog.blogspot.co.uk/2013/03/update-from-ceo.html |title=Official Blog: Update from the CEO |publisher=Googleblog.blogspot.co.uk |date=|accessdate=2013-03-14}}</ref>
 
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 แอนดรอยด์ได้ใช้การอัปเดตแบบ[[ประวัติรุ่นของแอนดรอยด์|เรียงตามเลขรุ่น]] ซึ่งจะมีการปรับปรุงส่วนต่างๆ ของระบบปฏิบัติการ, เพิ่มคุณสมบัติใหม่ และ แก้ไขข้อผิดพลาดในรุ่นก่อนหน้า โดยแต่ละรุ่นจะมีชื่อเฉพาะเรียงตามลำดับตัวอักษรและจะใช้ชื่อจากขนมหวาน เช่น รุ่น 1.5 "คัพเค้ก" 1.6 "โดนัท" รุ่น 4.3 "เจลลีบีน" และรุ่น 4.4 "[[ประวัติรุ่นของแอนดรอยด์#แอนดรอยด์ 4.4 คิทแคท .28เอพีไอระดับ 19.29|คิทแคท]]" ซึ่งได้เปิดตัวเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2556<ref name=verge-kitkat>{{cite web|title=KitKat mocks Apple with Android 4.4 parody video|url=http://www.theverge.com/2013/9/3/4690744/kit-kat-mocks-apple-with-android-parody-video|work=The Verge|accessdate=4 September 2013}}</ref><ref>{{cite web |last=Cunningham |first=Andrew |url=http://www.wired.co.uk/news/archive/2013-07/24/android-43 |title=Android 4.3 announced, bringing incremental changes to Jelly Bean (Wired UK) |publisher=Wired.co.uk |date=2013-07-24 |accessdate=2013-08-08 |archive-date=2013-07-28 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130728074343/http://www.wired.co.uk/news/archive/2013-07/24/android-43 |url-status=dead }}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2557 กูเกิลเปิดตัว "Android L"<ref>{{Cite web |url=http://www.krobkruakao.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5/95826/%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%89%E0%B8%A1-Android-L-%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81-Google.html |title=เผยโฉม Android L ระบบปฏิบัติการเวอร์ชันล่าสุดจาก Google |access-date=2015-05-29 |archive-date=2014-07-17 |archive-url=https://web.archive.org/web/20140717095913/http://www.krobkruakao.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5/95826/%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%89%E0%B8%A1-Android-L-%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81-Google.html |url-status=dead }}</ref> (ต่อมาใช้ชื่อว่า โลลิป๊อป)<ref>[http://www.android.com/versions/lollipop-5-0/ Android - 5.0 Lollipop]</ref> และเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 กูเกิลได้เปิดตัวแอนดรอยด์รุ่นใหม่ในชื่อ "Android M"<ref>[http://droidsans.com/android-m-dev-preview-google-io-2015 [IO15] เผยโฉม Android M Developer Preview ขนมชิ้นใหม่ของ Android น่ากินยังไงบ้าง]</ref><ref>[http://www.anandtech.com/show/9291/google-announces-android-m-at-google-io-2015 Google Announces Android M At Google I/O 2015]</ref> (ต่อมาใช้ชื่อว่า มาร์ชเมลโลว)<ref>[http://www.theverge.com/2015/8/17/9165063/android-marshmallow-announced Android M's name is Marshmallow, and it's version 6.0]</ref><ref>[https://droidsans.com/google-announce-android-m-is-for-marshmallow เปิดเผยแล้ว Android M = Marshmallow พร้อมคลิปเปิดตัวที่ Googleplex]</ref>
 
ในวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2559 กูเกิลเปิดตัว แอนดรอยด์ 7.0 "นูกัต" อย่างเป็นทางการ<ref>[http://www.pocket-lint.com/news/138561-android-7-0-nougat-release-everything-you-need-to-know Android 7.0 Nougat release: Everything you need to know - Pocket-lint]</ref><ref>{{Cite web |url=http://droidsans.com/android-7-nougat-officially-coming-to-nexus |title=Google เปิดตัวเว็บไซต์ Android 7.0 Nougat พร้อมปล่อยอัปเดตให้อุปกรณ์ Nexus แล้ว - Droidsans |access-date=2016-08-23 |archive-date=2016-08-24 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160824021721/http://droidsans.com/android-7-nougat-officially-coming-to-nexus |url-status=dead }}</ref> โดยสมาร์ตโฟนรุ่นแรกที่มาพร้อมกับแอนดรอยด์เวอร์ชันนี้คือ แอลจี วี20<ref>{{Cite web |url=http://droidsans.com/lg-v20-will-be-the-first-android-nougat-ready-out-of-the-box |title=Google ประกาศเอง LG V20 จะเป็นสมาร์ทโฟนเครื่องแรกที่มาพร้อม Android 7.0 Nougat ตั้งแต่แกะกล่อง - Droidsans |access-date=2016-08-23 |archive-date=2016-08-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160825210844/http://droidsans.com/lg-v20-will-be-the-first-android-nougat-ready-out-of-the-box |url-status=dead }}</ref><ref>[http://www.androidauthority.com/lg-v20-first-nougat-smartphone-711819/ Google confirms LG V20 first to run Nougat, not the next-gen Nexus - Android Authority]</ref>
[[ไฟล์:โลโก้แอนดรอยด์ เก่า กลาง ใหม่.png|thumb|โลโก้แอนดรอยด์แบบแรก (บน) โลโก้แอนดรอยด์แบบเก่า (กลาง) โลโก้แอนดรอยด์แบบใหม่ (ล่าง)]]
จากนั้น ในวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562 กูเกิลได้ยกเลิกการใช้ชื่อเล่น Android ที่เป็นชื่อขนมหวานตั้งแต่รุ่นที่ 10 เป็นต้นไป ดังนั้น Android ที่เป็นชื่อเล่น Q จะถูกเรียกว่า Android 10 พร้อมทั้งเปลี่ยนโลโก้ Android แบบใหม่ และฟอนต์ให้แตกต่างจากเดิมเพียงเล็กน้อย<ref>{{Cite web|url=https://www.theverge.com/2019/8/22/20827231/android-10-q-google-name-officially-announced-new-logo-wordmark-desserts|title=Google deserts desserts: Android 10 is the official name for Android Q|last=Bohn|first=Dieter|date=2019-08-22|website=The Verge|access-date=2019-08-22}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://arstechnica.com/gadgets/2019/08/unsweetened-android-swaps-sugary-codenames-for-boring-numbers/|title=Unsweetened: Android swaps sugary codenames for boring numbers|last=Amadeo|first=Ron|date=2019-08-22|website=Ars Technica|access-date=2019-08-22}}</ref>
 
== รายละเอียด ==