ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ระวังสับสน|ภาษาอังกฤษเก่า}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = ภาษาอังกฤษ
| nativename = English
| familycolor = Indo-European
| pronunciation = /ˈɪŋglɪʃ/ ''อิงกลิช''<br>/ˈɪŋlɪʃ/ ''อิงลิช''
| states = ดู[[#การกระจายทางภูมิศาสตร์|ด้านล่าง]]
| speakers = ภาษาที่หนึ่ง 360 ล้านคน (2553)<ref name=NE>[[Nationalencyklopedin]] "Världens 100 största språk 2010" The World's 100 Largest Languages in 2010</ref><br>ภาษาที่สอง 375 ล้านคน และภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ 750 ล้านคน<ref name=BritishCouncilEnglish>{{cite web |url=http://www.britishcouncil.org/learning-elt-future.pdf |title=Future of English|accessdate=24 August 2011 |publisher=The British Council}} (page 10)</ref>
| rank =
| fam2 = [[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก|เจอร์แมนิก]]
| fam3 = [[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก|เจอร์แมนิกตะวันตก]]
| fam4 = [[กลุ่มภาษาแองโกล-ฟรีเชียน|แองโกล-ฟรีเชียน]]
| fam5 = [[กลุ่มภาษาแองกลิก|แองกลิก]]
|ancestor=[[ภาษาอังกฤษเก่า|อังกฤษเก่า]]
|ancestor2=[[ภาษาอังกฤษสมัยกลาง|อังกฤษสมัยกลาง]]
|ancestor3=[[ภาษาอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง|อังกฤษสมัยต้นยุคกลาง]]
| nation = {{Collapsible list |titlestyle=font-weight:normal; background:transparent; text-align:left;|title=61 ประเทศ|
|{{flag|Australia}}
|{{flag|New Zealand}}
|{{flag|United Kingdom}}
|{{flag|United States}}
|{{flag|Antigua and Barbuda}}
|{{flag|Bahamas}}
|{{flag|Barbados}}
|{{flag|Belize}}
|{{flag|Botswana}}
|{{flag|Burundi}}
|{{flag|Cameroon}}
|{{flag|Canada}}
|{{flag|Cook Islands}}
|{{flag|Dominica}}
|{{flag|Federated States of Micronesia}}
|{{flag|Fiji}}
|{{flag|The Gambia}}
|{{flag|Ghana}}
|{{flag|Grenada}}
|{{flag|Guyana}}
|{{flag|India}}
|{{flag|Ireland}}
|{{flag|Jamaica}}
|{{flag|Kenya}}
|{{flag|Kiribati}}
|{{flag|Lesotho}}
|{{flag|Liberia}}
|{{flag|Malawi}}
|{{flag|Malta}}
|{{flag|Marshall Islands}}
|{{flag|Mauritius}}
|{{flag|Namibia}}
|{{flag|Nauru}}
|{{flag|Nepal}}
|{{flag|Nigeria}}
|{{flag|Niue}}
|{{flag|Pakistan}}
|{{flag|Palau}}
|{{flag|Papua New Guinea}}
|{{flag|Philippines}}
|{{flag|Rwanda}}
|{{flag|Saint Kitts and Nevis}}
|{{flag|Saint Lucia}}
|{{flag|Saint Vincent and the Grenadines}}
|{{flag|Samoa}}
|{{flag|Seychelles}}
|{{flag|Sierra Leone}}
|{{flag|Singapore}}
|{{flag|Solomon Islands}}
|{{flag|South Africa}}
|{{flag|South Sudan}}
|{{flag|Sudan}}
|{{flag|Swaziland}}
|{{flag|Tanzania}}
|{{flag|Tonga}}
|{{flag|Trinidad and Tobago}}
|{{flag|Tuvalu}}
|{{flag|Uganda}}
|{{flag|Vanuatu}}
|{{flag|Zambia}}
|{{flag|Zimbabwe}}
}}
{{Collapsible list |titlestyle= font-weight:normal; background:transparent; text-align:left; |title=27 รัฐไม่มีเอกราช|
|{{flag|Akrotiri and Dhekelia}}
|{{flag|American Samoa}}
|{{flag|Anguilla}}
|{{flag|Bermuda}}
|{{flag|British Virgin Islands}}
|{{flag|Cayman Islands}}
|{{flag|Curaçao}}
|{{flag|Falkland Islands}}
|{{flag|Gibraltar}}
|{{flag|Guam}}
|{{flag|Hong Kong}}
|{{flag|Isle of Man}}
|{{flag|Jersey}}
|{{flag|Norfolk Island}}
|{{flag|Northern Mariana Islands}}
|{{flag|Pitcairn Islands}}
|{{flag|Puerto Rico}}
|{{flag|Sint Maarten}}
|{{flag|Turks and Caicos Islands}}
|{{flag|U.S. Virgin Islands}}
|{{flag|British Indian Ocean Territory}}
|{{flag|Guernsey}}
|{{flag|Montserrat}}
|{{SHN}}
|{{flag|Christmas Island}}
|{{flag|Cocos (Keeling) Islands}}
|{{flag|Tokelau}}
}}
{{Collapsible list |titlestyle= font-weight:normal; background:transparent; text-align:left; |title=หลายองค์การ|
* [[United Nations]]
* [[European Union]]
* [[Commonwealth of Nations]]
* [[Council of Europe]]
* [[International Criminal Court|ICC]]
* [[International Monetary Fund|IMF]]
* [[International Olympic Committee|IOC]]
* [[International Organization for Standardization|ISO]]
* [[NATO]]
* [[WTO]]
* [[North American Free Trade Agreement|NAFTA]]
* [[Organization of American States|OAS]]
* [[Organisation for Economic Co-operation and Development|OECD]]
* [[Organisation of Islamic Cooperation|OIC]]
* [[OPEC]]
* [[GUAM Organization for Democracy and Economic Development]]
* [[Pacific Islands Forum|PIF]]
* [[UKUSA Agreement]]
* [[Association of Southeast Asian Nations|ASEAN]]
* [[ASEAN Economic Community]]
* [[South Asian Association for Regional Cooperation|SAARC]]
* [[Caribbean Community|CARICOM]]
* [[Turkic Council]]
* [[Economic Cooperation Organization|ECO]]
}}
| iso1 = en|iso2=eng|iso3=eng
|script =
| map = Anglospeak.png
| mapcaption =
{{legend|#0000ff|ประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการหรือเป็นภาษาราชการโดยพฤตินัย หรือเป็นภาษาประจำชาติ และประชากรส่วนใหญ่พูดเป็นภาษาแม่}}
{{legend|#8ddada|ประเทศที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่มิใช่ภาษาหลัก}}
}}
 
'''ภาษาอังกฤษ''' หรือ '''ภาษาอังกฤษใหม่''' เป็นภาษาใน[[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก|กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก]]ที่ใช้ครั้งแรกใน[[อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน|อังกฤษสมัยต้นยุคกลาง]] และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก<ref>Mydans, Seth (14 May 2007) [http://www.nytimes.com/2007/05/14/world/asia/14iht-14englede.5705671.html "Across cultures, English is the word"] ''New York Times''. Retrieved 21 September 2011</ref> ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง [[สหราชอาณาจักร]] [[สหรัฐอเมริกา]] [[แคนาดา]] [[ออสเตรเลีย]] [[ไอร์แลนด์]] [[ประเทศนิวซีแลนด์|นิวซีแลนด์]] และประเทศใน[[แคริบเบียน]] พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจาก[[ภาษาจีนกลาง]]และ[[ภาษาสเปน]]<ref name="ethnologue" /> มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของ[[สหภาพยุโรป]] หลายประเทศ[[เครือจักรภพแห่งชาติ]] และ[[สหประชาชาติ]] ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ
 
ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณ[[สกอตแลนด์]]ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของ[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]]และ[[สหราชอาณาจักร]]ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่าน[[จักรวรรดิอังกฤษ]] และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>[[#refAmmon2006|Ammon]], pp.&nbsp;2245–2247.</ref><ref>[[#refSchneider2007|Schneider]], p.&nbsp;1.</ref><ref>[[#refMazrui1998|Mazrui]], p.&nbsp;21.</ref><ref>[[#refHowatt2004|Howatt]], pp.&nbsp;127–133.</ref> ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็น[[ภาษากลาง]]ในหลายภูมิภาค<ref>[[#refCrystal1997|Crystal]], pp.&nbsp;87–89.</ref><ref>[[#refWardhaugh2006|Wardhaugh]], p.&nbsp;60.</ref>
 
ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า [[ภาษาอังกฤษเก่า]] ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์[[ภาษาละติน]] เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรป<ref name="Weissbort">Daniel Weissbort (2006). "Translation: theory and practice : a historical reader". p.100. Oxford University Press, 2006</ref> ภาษาอังกฤษยังได้รับอิทธิพลเพิ่มจาก[[ภาษานอร์สเก่า]]เพราะ[[บริเวณเดนลอว์|การบุกครองของไวกิ้ง]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และ 10
 
[[การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ทำให้ภาษาอังกฤษยืมคำมาจาก[[ภาษานอร์มัน]]อย่างมาก และสัญนิยมคำศัพท์และการสะกดเริ่มให้ลักษณะความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[กลุ่มภาษาโรมานซ์]]<ref>{{cite web |url=http://www.historyworld.net/wrldhis/PlainTextHistories.asp?historyid=ab13 |title=Words on the brain: from 1&nbsp;million years ago?
|work=History of language |accessdate=5 September 2010}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.orbilat.com/Influences_of_Romance/English/RIFL-English-Latin-The_Inflluences_on_Old_English.html |title=Latin Influences on Old English |author=Baugh, Albert C. and Cable, Thomas |year=1978 |work=An excerpt from Foreign Influences on Old English |accessdate=5 September 2010}}</ref> แก่ภาษาที่ต่อมากลายเป็น[[ภาษาอังกฤษกลาง]] [[การเลื่อนสระครั้งใหญ่]] (Great Vowel Shift) ซึ่งเริ่มขึ้นทางตอนใต้ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นเครื่องหมายของการกำเนิดของภาษาอังกฤษใหม่จากภาษาอังกฤษกลาง
 
เนื่องจากการกลมกลืนคำจากภาษาอื่นมากมายตลอดประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษใหม่จึงมีคำศัพท์ใหญ่มาก โดยมีการสะกดที่ซับซ้อนและไม่สม่ำเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสระ ภาษาอังกฤษใหม่ไม่เพียงแต่กลมกลืนคำจากภาษาอื่นของยุโรปเท่านั้น แต่ยังรวมภาษาอื่นทั่วโลกด้วย [[พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด]]แสดงรายการคำไว้กว่า 250,000 คำ ซึ่งยังไม่รวมศัพท์เทคนิค วิทยาศาสตร์และ[[สแลง]]<ref>{{cite web |url=http://www.oxforddictionaries.com/page/howmanywords |title=How many words are there in the English Language? |publisher=Oxforddictionaries.com}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.vistawide.com/languages/language_statistics.htm |title=Vista Worldwide Language Statistics |publisher=Vistawide.com |accessdate=31 October 2010}}</ref>
 
==ความสำคัญ ==
ภาษาอังกฤษใหม่ ที่บางครั้งมีผู้อธิบายว่าเป็นภาษากลางภาษาแรกของโลก<ref>{{cite journal |title=Global English: gift or curse? |doi=10.1017/S0266078405002075 |year=2005 |last1=Smith |first1=Ross |journal=English Today |volume=21 |issue=2 |page=56}}</ref><ref name = "Graddol"/> เป็นภาษาที่ใช้กันมากที่สุดหรือในบางกรณี เป็นภาษาระหว่างประเทศที่ต้องใช้ในการสื่อสาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ธุรกิจ การเดินเรือ<ref>{{cite web|title=IMO Standard Marine Communication Phrases|url=http://www.imo.org/OurWork/Safety/Navigation/Pages/StandardMarineCommunicationPhrases.aspx|publisher=International Maritime Organization|accessdate=10 December 2019}}</ref> การบิน<ref>{{cite web|title=FAQ – Language proficiency requirements for licence holders – In which languages does a licence holder need to demonstrate proficiency?|url=http://www.icao.int/icao/en/trivia/peltrgFAQ.htm#23|publisher=International Civil Aviation Organization – Air Navigation Bureau|accessdate=2 June 2011}}</ref> การบันเทิง วิทยุและการทูต<ref name="triumph">{{cite news |url=http://www.economist.com/world/europe/displayStory.cfm?Story_ID=883997 |title=The triumph of English |accessdate=26 March 2007 |date=20 December 2001 |publisher=The Economist ||url-access=registration}}</ref> ภาษาอังกฤษเริ่มแพร่ออกนอกหมู่เกาะอังกฤษจากการเติบโตของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]] และเมื่อถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภาษาอังกฤษก็ไปทั่วโลกอย่างแท้จริง<ref name="wwenglish">{{cite web |url=http://classic-web.archive.org/web/20070401233529/http://www.ehistling-pub.meotod.de/01_lec06.php |title=Lecture 7: World-Wide English |accessdate=26 March 2007|publisher=<sub>E</sub>HistLing }}</ref> หลัง[[การยึดอาณานิคมของอังกฤษ]]ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 ภาษาอังกฤษได้กลายเป็นภาษาเด่นใน[[สหรัฐอเมริกา]][[แคนาดา]] [[ออสเตรเลีย]]และ[[นิวซีแลนด์]] อิทธิพลทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่เพิ่มขึ้นของ[[สหรัฐอเมริกา]]และสถานภาพ[[อภิมหาอำนาจ]]ตั้งแต่[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ยิ่งเร่งการแพร่ของภาษาไปทั่วโลก<ref name="Graddol">{{cite web |url=http://www.britishcouncil.org/de/learning-elt-future.pdf |format=PDF|title=The Future of English? |accessdate=15 April 2007 |year=1997 |author=[[:en:David Graddol|David Graddol]] |publisher=The British Council }}</ref> ภาษาอังกฤษเป็นภาษาเด่นของผู้ได้รับ[[รางวัลโนเบล]]ทางวิทยาศาสตร์แทน[[ภาษาเยอรมัน]]ในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>Graphics: [http://www.idsia.ch/~juergen/scilang.html English replacing German as language of Science Nobel Prize winners]. From [[:en:Jürgen Schmidhuber|J. Schmidhuber]] (2010), [http://www.idsia.ch/~juergen/nobelshare.html Evolution of National Nobel Prize Shares in the 20th Century] at [http://arxiv.org/abs/1009.2634 arXiv:1009.2634v1]</ref> ภาษาอังกฤษเป็นภาษาเด่นเทียบเท่าและอาจแซงหน้า[[ภาษาฝรั่งเศส]]ในทางการทูตตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19