ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อรหัสสถานภาพของเอชทีทีพี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎top: แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 2:
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อรหัสสถานภาพในการตอบรับเอชทีทีพีจากเครื่องให้บริการ ซึ่งมีทั้งรหัสที่กำหนดโดยมาตรฐานอินเทอร์เน็ตของคณะทำงานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรมอินเทอร์เน็ต (IETF) และกำหนดโดยเอกสารขอความเห็น (RFC) เอกสารลักษณะเฉพาะอื่น ๆ และรหัสที่มีการใช้งานโดยทั่วไปเพิ่มเข้ามา ตัวเลขแรกของรหัสสถานภาพ (หลักร้อย) เป็นตัวระบุประเภทของการตอบรับหนึ่งในห้าประเภท ซึ่งเครื่องลูกข่ายเอชทีทีพีสามารถรับรู้ประเภททั้งห้านี้ได้เป็นอย่างน้อย อินเทอร์เน็ตอินฟอร์เมชันเซอร์วิสเซส(IIS) ของไมโครซอฟท์ใช้รหัสย่อยเป็น[[การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ทศนิยมเพิ่มเติมเพื่อแสดงข้อมูลให้เจาะจงมากยิ่งขึ้นแต่จะไม่นำมาแสดงไว้ในนี้ วลีเหตุผลที่อยู่ถัดจากรหัสสถานภาพเป็นตัวอย่างมาตรฐาน ซึ่งสามารถเขียนหรือแปลให้เป็นอย่างอื่นเพื่อให้มนุษย์สามารถอ่านเข้าใจได้ ถ้าหากรหัสสถานภาพใดไม่มีการระบุหมายเหตุ แสดงว่ารหัสนั้นเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน HTTP/1.1
 
ข้อมูลทั่วไปรหัสสถานภาพกลุ่มนี้หมายถึง "เครื่องให้บริการได้รับการร้องขอแล้ว สามารถดำเนินการต่อไปได้" ใช้เป็นข้อความตอบรับชั่วคราว ซึ่งจะประกอบด้วยส่วนหัว <tt>Status-Line</tt> กับส่วนหัวอื่น ๆ เพิ่มเติม และจบด้วยบรรทัดว่าง แต่เนื่องจาก HTTP/1.0 ไม่ได้กำหนดรหัส 1xx เอาไว้ ดังนั้นเครื่องแม่ข่ายต้องไม่ส่งการตอบรับด้วยรหัส 1xx ไปยังเครื่องลูกข่ายที่เป็น HTTP/1.0 เว้นแต่ว่าจะอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่เกี่ยวกับการทดลอง
== 1xx ข้อมูลทั่วไป ==
รหัสสถานภาพกลุ่มนี้หมายถึง "เครื่องให้บริการได้รับการร้องขอแล้ว สามารถดำเนินการต่อไปได้" ใช้เป็นข้อความตอบรับชั่วคราว ซึ่งจะประกอบด้วยส่วนหัว <tt>Status-Line</tt> กับส่วนหัวอื่น ๆ เพิ่มเติม และจบด้วยบรรทัดว่าง แต่เนื่องจาก HTTP/1.0 ไม่ได้กำหนดรหัส 1xx เอาไว้ ดังนั้นเครื่องแม่ข่ายต้องไม่ส่งการตอบรับด้วยรหัส 1xx ไปยังเครื่องลูกข่ายที่เป็น HTTP/1.0 เว้นแต่ว่าจะอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่เกี่ยวกับการทดลอง
 
;100 Continue
:เครื่องให้บริการได้รับการร้องขอแล้ว และเครื่องลูกข่ายควรจะส่งเนื้อหาตามออกไปกับข้อความร้องขอ (ในกรณีที่เนื้อหาจำเป็นต้องส่งไปกับการร้องขอ เช่นข้อความร้องขอแบบ POST) ถ้าเนื้อหาในข้อความร้องขอมีขนาดใหญ่ การส่งข้อมูลไปยังเครื่องแม่ข่ายอาจเกิดการชะงัก การร้องขออาจถูกตัดไปเสียก่อนเพราะไม่มีส่วนหัวที่เหมาะสม ดังนั้นเพื่อให้เครื่องแม่ข่ายสามารถตรวจสอบได้ว่าการร้องขอนั้นจะเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่ เครื่องลูกข่ายจะต้องส่งส่วนหัว <tt>Expect: 100-continue</tt> ไปในข้อความร้องขอครั้งแรก <ref>{{rfcurl|2616|section=14.20}}{{ndash}} Expect header</ref> และตรวจสอบว่ารหัสสถานภาพที่ได้มาจากข้อความตอบรับเป็น <tt>100 Continue</tt> ก่อนดำเนินการส่งข้อมูลต่อไป (หากล้มเหลว จะได้รับรหัสเป็น <tt>417 Expectation Failed</tt> และหยุดดำเนินการส่งข้อมูล)เกิดจากผู้ร้องขอที่ได้สอบถามให้เครื่องแม่ข่ายเปลี่ยนโพรโทคอลในการสื่อสาร <ref>{{rfcurl|2616|section=8.2.3}}{{ndash}}เมื่อเครื่องแม่ข่ายรับทราบก็จะคืนรหัสสถานภาพนี้มายังผู้ร้องขอ 100แล้วจะดำเนินการเปลี่ยนโพรโทคอลตามเครื่องให้บริการกำลังประมวลผล (ContinueRFC 2518) Status</ref>(WebDAV)
 
;101 Switching Protocols
:เกิดจากผู้ร้องขอที่ได้สอบถามให้เครื่องแม่ข่ายเปลี่ยน[[โพรโทคอล]]ในการสื่อสาร เมื่อเครื่องแม่ข่ายรับทราบก็จะคืนรหัสสถานภาพนี้มายังผู้ร้องขอ แล้วจะดำเนินการเปลี่ยนโพรโทคอลตาม <ref>[http://www.google.com/support/webmasters/bin/answer.py?hl=en&answer=40132 Google Help] – Google HTTP status codes</ref>
 
;102 Processing
:เครื่องให้บริการกำลังประมวลผล (RFC 2518) (WebDAV)
 
== 2xx การร้องขอสำเร็จ ==