ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเงินเฟ้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
The Mark-7032 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
The Mark-7032 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การตรึงอัตราแลกเปลี่ยน: โอ้ย !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 88:
 
===การตรึงอัตราแลกเปลี่ยน===
ระบบการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนของ[[เงินตรา|สกุลเงิน]] หมายถึงการผูกมูลค่าของสกุลเงินนั่นๆให้เท่ากับมูลค่าของสกุลเงินของประเทศใดประเทศหนึ่ง (ที่มีความแข็งแกร่งเช่น เงินดอลล่าร์สหรัฐ) หรือสกุลเงินของหลายๆหลาย ๆ ประเทศ การตรึงอัตราแลกเปลี่ยนสามารถนำมาใช้เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อได้ แต่เนื่องจากมูลค่าของสกุลเงินที่นำมาอ้างอิงมีการเพิ่มและลดลงตลอดเวลา ดังนั้นมูลค่าของเงินในประเทศที่อยู่ภายใต้ระบบการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนจึงเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามมูลค่าของสกุลเงินที่นำมาอ้างอิง ซึ่งหมายความว่าอัตราเงินเฟ้อของประเทศนั้นๆจะถูกกำหนดโดยอัตราเงินเฟ้อของประเทศที่เป็นเจ้าของสกุลเงินที่นำมาอ้างอิง ดังนั้นการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนจึงทำให้รัฐบาลไม่สามารถใช้[[:en:monetary policy|นโยบายการเงิน]]ของตัวเองในการที่จะบรรลุเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาคได้
 
ภายใต้ข้อตกลงเบรตตันวูดส์ ประเทศหลายๆประเทศทั่วโลกได้ทำการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนไว้กับดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งมีประโยชน์ในการจำกัดการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ แต่ข้อเสียคือทำให้ประเทศเหล่านั้นตกเป็นเป้าของการโจมตีค่าเงิน ดังนั้นภายหลังจากที่ข้อตกลงเบรตตันวูดส์มีอันเป็นที่สิ้นสุดลงในช่วงต้นปี ค.ศ. 1970 ประเทศต่างๆต่าง ๆ จึงได้ทยอยหันไปใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว อย่างไรก็ดีในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 มีหลายประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศในทวีปอเมริกาใต้เช่น อาร์เจนตินา (ค.ศ. 1991 - 2002), โบลิเวีย, บราซิลและชิลี) ได้หวนกลับไปใช้การตรึงอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อที่จะควบคุมอัตราเงินเฟ้อ
 
===ระบบมาตรฐานทองคำ===