ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การออกเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3:
 
ปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มบุคคลหลากหลายสามารถพูดคำหรือวลีหนึ่ง ๆ ด้วยวิธีการที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างอาทิ ภูมิภาคที่พวกเขาเติบโตหรืออาศัยอยู่ หรือในกรณีที่พวกเขามี[[ความผิดปกติในการพูด]]หรือ[[ความผิดปกติในการเปล่งเสียง]] <ref>{{cite book | author=Beech, John R.; Harding, Leonora; Hilton-Jones, Diana | title=Assessment in speech and language therapy | year=1993 | publisher=CUP Archive | isbn=0415078822 | page=55 }}</ref> [[กลุ่มชาติพันธุ์]] [[ชั้นชนทางสังคม]] หรือ[[การศึกษา]]ของพวกเขา <ref>{{cite book | title=Sociolinguistics: the essential readings | editor=Paulston, Christina Bratt; Tucker, G. Richard | publisher=Wiley-Blackwell | year=2003 | isbn=0631227172 | chapter=Some Sociolinguistic Principles | author=Labov, William | pages=234-250 }}</ref>
 
== ศัพท์เฉพาะทางภาษาศาสตร์ ==
[[พยางค์]]ต่าง ๆ นับว่าเป็นหน่วยของ[[เสียง (สัทศาสตร์)|เสียง]] (phone) ที่ถูกใช้ในภาษา แขนงวิชาของ[[ภาษาศาสตร์]]ที่ศึกษาเกี่ยวกับหน่วยของเสียงคือ[[สัทศาสตร์]] (phonetics) เสียงต่าง ๆ ที่มีบทบาทเดียวกันและถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นชั้นเรียกว่า[[หน่วยเสียง]] (phoneme) และการศึกษาเกี่ยวกับหน่วยเสียงคือ[[สัทวิทยา]] (phonology)
 
เสียงในฐานะองค์ประกอบของการเปล่งเสียงโดยปกติในทางวิชาการจะอธิบายด้วย[[สัทอักษรสากล]] (IPA) <ref>{{cite book | author=Schultz, Tanja; Kirchhoff, Katrin | year=2008 | title=Multilingual speech processing | page=12 | publisher=Academic Press | isbn=0120885018 }}</ref> นอกจากนี้เสียงก็สามารถอธิบายได้ด้วยพยางค์ที่เทียบเท่ากันเช่น การออกเสียงของคำว่า "สงบ" สามารถแสดงเป็น ''สะ''-หฺงบ หรือคำว่า "pronunciation" อธิบายได้เป็น pr''uh''-nuhn-see-'''ey'''-sh''uh''n เป็นต้น แต่วิธีการอย่างหลังก็อาจทำให้เกิดความกำกวมเนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ของบุคคลดังที่ได้กล่าวแล้ว
 
== อ้างอิง ==