ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
นำยกบกบกดีดรนกยด
{{ปรับภาษา}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{จัดรูปแบบ}}
 
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2 แก้ไข<br>สถานการณ์ฉุกเฉิน
|ชื่อในภาษาแม่_1 =
|ชื่อในภาษาแม่_2 =
|ชื่อในภาษาแม่_ท =
|สัญลักษณ์ =
|สัญลักษณ์ _กว้าง =
|สัญลักษณ์ _บรรยาย =
|ตรา = Seal_Prime_Minister_of_Thailand.png
|ตรา_กว้าง = 120 px
|ตรา_บรรยาย = ตรา
|ภาพ = CRES Statement.PNG
|ภาพ_กว้าง = 200 px
|ภาพ_บรรยาย = ภาพบนหน้าจอโทรทัศน์ สำหรับเปิดและปิด การประกาศคำสั่งของศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน
|วันก่อตั้ง = [[7 เมษายน]] [[พ.ศ. 2553]]
|สืบทอดจาก_1 =
|สืบทอดจาก_2 =
|สืบทอดจาก_3 =
|สืบทอดจาก_4 =
|สืบทอดจาก_5 =
|สืบทอดจาก_6 =
|วันยุบเลิก = [[21 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2553]]
|สืบทอดโดย =
|เขตอำนาจ = เฉพาะท้องที่ในประเทศไทย ที่ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
|กองบัญชาการ = {{flagicon|Thailand}}<br>กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร<br>ถนนราชสีมา เขตดุสิต<br>กรุงเทพมหานคร
|latd= |latm= |lats= |latNS=
|longd= |longm= |longs= |longEW=
|รหัสภูมิภาค =
|บุคลากร =
|งบประมาณ =
|รัฐมนตรี1_ชื่อ =
|รัฐมนตรี1_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี2_ชื่อ =
|รัฐมนตรี2_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี3_ชื่อ =
|รัฐมนตรี3_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี4_ชื่อ =
|รัฐมนตรี4_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี5_ชื่อ =
|รัฐมนตรี5_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี6_ชื่อ =
|รัฐมนตรี6_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี7_ชื่อ =
|รัฐมนตรี7_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี8_ชื่อ =
|รัฐมนตรี8_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี9_ชื่อ =
|รัฐมนตรี9_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี10_ชื่อ =
|รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า1_ชื่อ = [[ประวิตร วงษ์สุวรรณ]]
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ผู้อำนวยการ
|หัวหน้า2_ชื่อ = [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]]
|หัวหน้า2_ตำแหน่ง = หัวหน้าผู้รับผิดชอบสถานการณ์
|หัวหน้า3_ชื่อ =
|หัวหน้า3_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า4_ชื่อ =
|หัวหน้า4_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า5_ชื่อ =
|หัวหน้า5_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า6_ชื่อ =
|หัวหน้า6_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า7_ชื่อ =
|หัวหน้า7_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า8_ชื่อ =
|หัวหน้า8_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า9_ชื่อ =
|หัวหน้า9_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า10_ชื่อ =
|หัวหน้า10_ตำแหน่ง =
|ประเภทหน่วยงาน =
|ต้นสังกัด =
|ลูกสังกัด_1 =
|ลูกสังกัด_2 =
|ลูกสังกัด_3 =
|ลูกสังกัด_4 =
|ลูกสังกัด_5 =
|ลูกสังกัด_6 =
|ลูกสังกัด_7 =
|ลูกสังกัด_8 =
|ลูกสังกัด_9 =
|เอกสารหลัก_1=
|เอกสารหลัก_2=
|เอกสารหลัก_3=
|เอกสารหลัก_4=
|เอกสารหลัก_5=
|เอกสารหลัก_6=
|เว็บไซต์ = [http://www.capothai.org Capothai.org]
|หมายเหตุ =
|แผนที่ =
|แผนที่_กว้าง =
|แผนที่_บรรยาย =
}}
 
'''ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน''' ({{lang-en|Centre for Resolution of Emergency Situation}}) หรือเรียกโดยย่อว่า '''ศอฉ.''' ({{lang-en|CRES}}) เป็นหน่วยงานพิเศษของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[7 เมษายน]] [[พ.ศ. 2553]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/045/3.PDF คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ พิเศษ 1/2553 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน]</ref> ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพื่อการควบคุม[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ. 2553‎|การชุมนุม]]ของ[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน]] ภายหลังจากที่ได้มีการประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยก่อนหน้านี้ได้ใช้ชื่อว่า '''ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.)''' ตามประกาศพ.ร.บ.ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร คำสั่งกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ที่ 103/2553 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2553 โดยให้ [[สุเทพ เทือกสุบรรณ]] เป็น ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย
 
อนึ่ง'''ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.)'''นั้นมีการจัดตั้งและยุบเป็นช่วงๆ รัฐบาล [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] จัดตั้งศอ.รส.ครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2552<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/137/87.PDF</ref>ถึง 1 กันยายน 2552 ซึ่งเป็นการจัดตั้งตามกฎหมาย พ.ร.บ.ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ภายหลังประกาศพื้นที่ปรากฏเหตุการณ์อันส่งผลกระทบต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในพื้นที่เขตดุสิต ครั้งที่สองระหว่างวันที่ 18-22 กันยายน 2552<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/157/113.PDF</ref>ครั้งที่สาม 15-25 ตุลาคม 2552<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/182/89.PDF</ref>
 
รัฐบาล [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] จัดตั้ง ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อยขึ้นเป็นครั้งสุดท้าย ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 คณะรัฐมนตรีมีมติแต่งตั้ง พลตำรวจเอก [[วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี]] เป็น ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย และ พลตำรวจตรี [[ประวุฒิ ถาวรศิริ]] เป็นโฆษก ศอ.รส. พล.ต.ต.[[ปิยะ อุทาโย]] และ พล.ต.ต.[[พินิต มณีรัตน์]] เป็นรองโฆษก ศอ.รส. เพื่อควบคุม[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ. 2553‎|การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] ซึ่งชุมนุมประท้วงบริเวณศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก เรียกร้องให้ปล่อยตัวแกนนำ<ref>http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9540000025576</ref>และ กลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] ตามประกาศพ.ร.บ.ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร โดยในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ศอ. รส. ได้ออกประกาศ 2 ฉบับเรื่องการห้ามปิดถนนและออกหมายเรียกแกนนำมารับทราบข้อกล่าวหา<ref>http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9540000018049 ศอ.รส.ประกาศ 2 ฉบับ ห้ามพันธมิตรฯ ชุมนุมปิดถนน</ref>และในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ได้ออกประกาศห้ามเข้ากระทรวงศึกษาธิการเป็นฉบับที่ 3/2554
 
เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีมีมติยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวม4จังหวัด โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม 2553 เป็นต้นไป ศอฉ.จึงสิ้นสุดอำนาจหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวไปด้วย และได้มีการสั่งการให้โอนย้ายงานที่ยังค้างคาอยู่ไปอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งมีอยู่หลายฝ่าย ทั้งทหาร ตำรวจ และข้าราชการการเมือง รวมทั้งหน่วยงานพิเศษเช่นกรมสอบสวนคดีพิเศษ
 
== อำนาจหน้าที่ ==