ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยเชื้อสายอินเดีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
 
== การแบ่งกลุ่ม ==
การแบ่งกลุ่มชาวไทยเชื้อสายอินเดีย แบ่งได้ 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
 
=== ชาวซิกข์ ===
ชาว[[ซิกข์|ชาวซิกข์]]จะมีการแต่งกายที่มีจุดเด่นคือ ผู้ชายจะโพกหัว และมีคำนามสกุลลงท้ายว่า สิงห์ ''ซิงห์'' ชาวซิกข์ทุกคนมีสัญลักษณ์ประจำกาย 5 อย่าง ได้แก่ 1 คือ เกศ คือไว้ผมให้ยาว ไม่ตัดเด็ดขาด 2 คือ กังฆะ คือ หวีอันเล็ก 3 การ่า หมายถึงกำไลข้อมือเหล็กสวมที่ข้อมือขวา 4 กาช่า คือ กางเกงในขาสั้น 5 กรีปาน (หมายถึงมีดดาบโค้ง ) นอกจากนี้ยังห้ามกินเนื้อวัว และไม่มีรูปเคารพ แต่เมื่อมาอยู่เมืองประเทศไทยจึงต้องเปลี่ยนตัวเองตามสังคม เช่น มีดมีขนาดเล็กลง ยาวเพียงไม่กี่นิ้ว บางคนทำเป็นจี้ห้อยคอ บางคนเปลี่ยนจากกำไลเหล็กเป็นกำไลทอง
 
ชาวซิกข์เดินทางจาก[[รัฐปัญจาบ]]เข้ามาในไทยตั้งแต่สมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 โดยเข้ามาทาง[[มาเลเซีย]] โดยผ่าน[[ภาคใต้]] หรือมาทางบกโดยผ่านจากพม่า หลายคนเข้ามาเป็นพลตระเวน ([[ตำรวจ]]) แต่ส่วนใหญ่นิยมทำการค้า คนไทยจึงเรียกกันติดปากว่า '''แขกขายผ้า''' ชาวซิกข์ที่เปิดเป็นล่ำเป็นสันอยู่ที่บ้านหม้อ สมัยนั้นเรียก ร้านแขกแขก” เมื่อการค้าเจริญขึ้น จึงได้ชักชวนญาติพี่น้องเข้ามามากขึ้น และรวมกลุ่มตั้งแหล่งทำกินที่พาหุรัด เมื่อพาหุรัดแออัด ชาวซิกข์จึงหาที่อยู่ใหม่แถบ [[แยกท่าพระ|ท่าพระ]] [[บางแค]] [[สุขุมวิท]] หรือ[[คลองตัน]] และที่[[สี่แยกบ้านแขก]]ใน โดยเฉพาะซอยสารภี 2 ถือเป็นชนกลุ่มชุมชนใหญ่ นอกจากขายผ้า ชาวซิกข์ ยังนิยมปล่อยเงินกู้ หรือขายของเงินผ่อนด้วย
 
'''[[นามธารี]]''' (Namdhari) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาซิกข์ที่[[ราม สิงห์]]'''รามาซิงห์''' (พระศาสดาองค์ที่ 12) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2355 นอกจากการปฏิบัติตามหลัก[[ศาสนาซิกข์]]แล้ว ยังต้องถือบัญญัติขององค์พระศาสดา ศิริ ศิริสัตคุรุ ราม ซิงห์ ด้วยรามาซิงห์ด้วย เช่น ห้ามกินเนื้อสัตว์ และไข่ทุกชนิด ต้องสวดมนต์ระลึกถึงพระนามของพระผู้เป็นเจ้า "นาม ซิมราน" (Nam Simran) ทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 ชั่วโมง ชายต้องโพกศีรษะด้วยผ้าสีขาวเท่านั้น ผู้หญิงห้ามใช้เครื่องประดับหรือแต่งหน้าทาปาก เน้นชีวิตเรียบง่าย ถิ่นที่คนกลุ่มนี้อาศัยอยู่เป็นจำนวนมากคือ [[สุขุมวิท]] และ[[สี่แยกบ้านแขก]]
 
=== ชาวฮินดู ===
บรรพบุรุษชาวพราหมณ์ฮินดูในไทยส่วนใหญ่เป็นชาว[[รัฐปัญจาบ]]และ[[รัฐอุตตรประเทศ]] จาก[[ประเทศอินเดีย]] ชาวฮินดูที่อพยพมาจากรัฐปัญจาบนิยมกิจการค้าผ้าที่[[ถนนพาหุรัด]] ส่วนที่มาจาก[[รัฐอุตตรประเทศตตรประเทศ]] เกือบทั้งหมดเป็นแขกยาม ก่อนที่จะลดจำนวนเมื่อทางการประกาศห้ามคนต่างด้าวทำอาชีพนี้
 
ชาวพราหมณ์ฮินดูนิยมตั้งถิ่นฐานใน[[กรุงเทพมหานคร]]มากกว่าที่อื่นๆอื่น ๆ พวกที่มาจาก[[รัฐปัญจาบ]]นิยมตั้งชุมชนแถบ[[ถนนพาหุรัด]] [[สี่แยกบ้านแขก ]] และ[[ถนนสุขุมวิท]] โดยที่[[สี่แยกบ้านแขก]]อยู่หนาแน่นนับร้อยครัวเรือนในซอยสารภี 2 และกระจายตามซอยใน[[ถนนอิสรภาพ]] ได้แก่ ซอยอิสรภาพ 3,6,8,12 และ 15 ส่วนที่มาจาก[[รัฐอุตตรประเทศตตรประเทศ]]ตั้งถิ่นฐานแถบ[[หัวลำโพง]]
 
== ภาษา ==