ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
 
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{เก็บกวาดสถานศึกษา}}
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย
|name = มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
เส้น 21 ⟶ 20:
'''มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์''' ({{lang-en|University of Cambridge}})<ref group="note">ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge)</ref> เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของ[[สหราชอาณาจักร]] ก่อตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 1752]] โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ [[มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]] นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย<ref>{{cite book|author=Sager, Peter|year= 2005|title= Oxford and Cambridge: An Uncommon History}}</ref> มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองออกซฟอร์ด<ref>{{cite web|url=http://www.cam.ac.uk/univ/history/records.html|title=A Brief History: Early records|publisher=University of Cambridge|accessdate=17 August 2008}}</ref> มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า [[อ๊อกซบริดจ์]] ในปีพ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ รั้งตำแหน่งอันดับที่สองของโลก ในบรรดา[[รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ|มหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด]] กล่าวคือ 118 รางวัล
 
นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)<ref group="note">หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา</ref> จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน<ref>{{cite web|url=http://www.cam.ac.uk/colleges-and-departments|title= Cambridge – Colleges and departments| accessdate=27 November 2013|publisher= University of Cambridge}}</ref> ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นใน[[มหาวิทยาลัยเคนต์]] และ[[มหาวิทยาลัยเดอแรม]] อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย<ref>{{cite web|url=http://www.guinnessworldrecords.com/world-records/2000/oldest-printing-and-publishing-house |title=Oldest printing and publishing house |publisher=Guinnessworldrecords.com |date=22 January 2002 |accessdate=28 March 2012}}</ref><ref>{{cite book | title = Cambridge University Press, 1583–1984 | first= Michael | last = Black | pages= 328–9 | year = 1984 | isbn = 978-0-521-66497-4}}</ref> นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้วย
 
== ประวัติ ==