ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
กบฎปล้นชาติ
{{ปรับรูปแบบ}}
{{Infobox civil conflict
| title = วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
| image = ไฟล์:Protesters at Democracy Monument, November 2013.jpg
| caption = การชุมนุมที่ราชดำเนินเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2556
| date = 31 ตุลาคม 2556 – 22 พฤษภาคม 2557 <!---อธิบายไว้ที่หน้าพูดคุย--->
| place = กรุงเทพมหานครและหลายจังหวัดของ[[ประเทศไทย]]
| coordinates =
| causes = {{bulleted list|
| ร่างพระราชบัญญัติซึ่งนิรโทษกรรมความผิดทั้งหมดของทุกฝ่ายย้อนหลังไปถึงปี 2547<ref name = senators_discuss_bill>{{cite news|title=Protests as Thailand senators debate amnesty bill|url=http://www.theguardian.com/world/2013/nov/11/thailand-protests-amnesty-bill|accessdate=13 January 2014|newspaper=The Guardian|date=11 November 2013}}</ref>
| อิทธิพลของ พันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]] ในการเมืองไทย
| การแก้ไขเพิ่มเติม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] เพื่อให้สมาชิกวุฒิสภาทั้งหมดมาจากการเลือกตั้ง<ref name="court_rejects_amendments">{{cite news|title=Thailand Constitutional Court rejects Senate amendments|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-24997184|accessdate=12 January 2014|newspaper=BBC News|date=20 November 2013}}</ref>}}
| goals = {{bulleted list|
| การทำให้[[พรรคเพื่อไทย]]ซึ่งเกี่ยวข้องกับพันตำรวจโท ทักษิณ หมดอำนาจ
| การตั้งสภาประชาชนซึ่งไม่ได้มาจากการเลือกตั้งให้มาควบคุมการปฏิรูปการเมือง<ref>{{cite web|title=Thailand: Seven hurt as gunmen fire on Bangkok protest|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-25694630|work=BBC News|accessdate=13 January 2014}}</ref>
}}
| methods = {{bulleted list|
| การเดินขบวนและชุมนุมประท้วง
| การยึดสถานที่ราชการ
| การปิดการจราจรในทางแยกสำคัญในกรุงเทพ<ref>{{cite web|title=Protesters move in early for Bangkok shutdown|url=http://www.bangkokpost.com/news/local/389216/protesters-move-in-early-for-bangkok-shutdown|work=Bangkok Post|accessdate=13 January 2014}}</ref>
| การคว่ำบาตรการเลือกตั้ง
}}
| result = {{bulleted list|
| การยุบสภาผู้แทนราษฎร
| [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557|ขัดขวางการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2557]] และถูกศาลรัฐธรรมนูญเพิกถอน
| ประกาศใช้[[กฎอัยการศึก]]
| [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร]]โดย[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]
}}
| side1 = {{bulleted list|
| [[กปปส.|คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข]] (กปปส.)
| [[พรรคประชาธิปัตย์]]
| คู่แข่งทางการเมืองของพันตำรวจโท ทักษิณ และพรรคเพื่อไทย
}}
| side2 = {{bulleted list|
| [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60|รัฐบาลยิ่งลักษณ์]]
| [[พรรคเพื่อไทย]]
| [[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.)
}}
| side3 =
| leadfigures1 = {{bulleted list|
| [[สุเทพ เทือกสุบรรณ]]
| [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]
}}
| leadfigures2 = {{bulleted list|
| [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]]
| [[นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล]] <small>(รักษาการแทน)</small>
| [[จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ]]
| [[จตุพร พรหมพันธุ์]]
}}
| leadfigures3 =
| howmany3 =
| casualties1 =
| casualties2 =
| casualties3 =
| fatalities = 36<ref name="total">[http://www.ems.bangkok.go.th สถิติผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในพื้นที่การปะทะจากเหตุชุมนุม], ศูนย์เอราวัณ, 26 พฤษภาคม 2557.</ref>
| injuries = 827<ref name="total"/> <small> (จนถึง 26 พฤษภาคม 2557)</small>
| arrests = 12<ref>{{cite news|title=Clashes and casualties|url=http://www.nationmultimedia.com/politics/Clashes-and-casualties-30224410.html|accessdate=16 January 2014|newspaper=The Nation|date=16 January 2014}}</ref><ref>[http://news.mthai.com/headline-news/309193.html ธาริตยันจับจริง สนธิญาณ แกนนำ กปปส. เล็งขอศาสควบคุมตัวต่อ], mthai news, 12 กุมภาพันธ์ 2557</ref> <small> (จนถึง 12 กุมภาพันธ์ 2557)</small>
| detentions =
| charged =
| fined =
| casualties_label =
| notes =
}}
 
'''วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557''' เป็นวิกฤตการณ์การเมืองที่เกิดขึ้นจากการประท้วงต่อต้านรัฐบาลตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2556 ถึงพฤษภาคม 2557 จัดระเบียบโดย [[กปปส.]] กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองซึ่งจัดและมี[[สุเทพ เทือกสุบรรณ]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้นำ การประท้วงนี้ลงเอยด้วย[[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] นายกรัฐมนตรี พ้นจากตำแหน่ง [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร]]และการสถาปนา[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ|คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครอง]]
 
เป้าหมายหลักของการประท้วง คือ การขจัดอิทธิพลของอดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]] ในการเมืองไทย และการตั้ง "สภาประชาชน" ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อดูแลการปฏิรูประบบการเมือง<ref>{{cite news|title=Thai protest leader explains demand for 'people's council'|url=http://www.china.org.cn/world/2013-12/04/content_30797670.htm|accessdate=31 May 2014|newspaper=China.org.cn|date=4 December 2013}}</ref> ผู้ประท้วงมองว่า พันตำรวจโททักษิณทุจริตอย่างมากและทำให้ประชาธิปไตยของประเทศไทยเสียหาย<ref>{{cite news|last=Young|first=Jeffrey Young|title=Turmoil in Thailand - Corruption and a Political Struggle|url=http://www.voanews.com/content/turmoil-in-thailand-corruption-and-a-political-struggle/1857954.html|accessdate=30 May 2014|newspaper=Voice of America|date=24 February 2014}}</ref><ref>{{cite news|last=Jones|first=Aidan|title=Thaksin corruption claims stoke Thai protest outrage|url=http://www.nationmultimedia.com/politics/Thaksin-corruption-claims-stoke-Thai-protest-outra-30224822.html|accessdate=30 May 2014|newspaper=The Nation|date=21 January 2014}}</ref> แม้เขาได้รับการสนับสนุนอย่างเข้มแข็งในหลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือ เนื่องจากโครงการสังคมปฏิรูปและนโยบายเศรษฐกิจของเขา พรรคการเมืองซึ่งเป็นพันธมิตรของพันตำรวจโททักษิณชนะการเลือกตั้งทุกครั้งตั้งแต่ปี 2544 นักวิเคราะห์และนักวิจารณ์ยังมองว่าประเด็นอื่น เช่น การสืบราชสันตติวงศ์<ref>{{cite news |author=Mark Fenn |title=Thailand on the Brink|url=http://thediplomat.com/2014/01/thailand-on-the-brink/2/|accessdate=28 March 2014|newspaper=The Diplomat|date=10 January 2014}}</ref><ref>{{cite news|title=Where is Thailand heading after protests?|url=http://www.bbc.com/news/world-asia-26467100|accessdate=28 March 2014|publisher=BBC News|date=7 March 2014}}</ref><ref>{{cite web|title=The path to the throne|url=http://www.economist.com/news/asia/21602759-sudden-move-army-brings-only-near-term-calm-path-throne|work=The Economist|accessdate=30 May 2014}}</ref> ความแตกแยกเมือง-ชนบทหรือเหนือ-ใต้<ref>{{cite web|last=Bagenal|first=Flora|title=How the Urban-Rural Divide Became a Street War in Bangkok|url=http://nextcity.org/daily/entry/how-the-urban-rural-divide-became-a-street-war-in-bangkok|work=Next City|accessdate=30 May 2014}}</ref><ref>{{cite news|title=You go your way, I’ll go mine|url=http://www.economist.com/news/asia/21594989-thailands-very-unity-now-under-threat-you-go-your-way-ill-go-mine|accessdate=31 May 2014|newspaper=The Economist|date=25 January 2014}}</ref> ความเหลื่อมล้ำทางสังคม<ref>{{cite web|last1=Mith|first1=Samak|title=Thailand’s Democracy Under Siege|url=http://thediplomat.com/2014/07/thailands-democracy-under-siege/|website=The Diplomat|accessdate=27 July 2014}}</ref> ระบบข้าราชการประจำที่รวมศูนย์เกินไป<ref>{{cite news|last=Boonmi|first=Thirayuth|title=Centralised governance the root of Thailand's woes|url=http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/375053/centralised-governance-the-root-of-thailand-woes|accessdate=30 May 2014|newspaper=Bangkok Post|date=17 October 2013}}</ref><ref>{{cite news|last=Rojanaphruk|first=Pravit|title=Centralisation of power 'behind social ills'|url=http://www.nationmultimedia.com/politics/Centralisation-of-power-behind-social-ills-30211548.html|accessdate=30 May 2014|newspaper=The Nation|date=31 July 2013}}</ref> อิทธิพลของพระมหากษัตริย์และทหารในการเมือง<ref>{{cite news |author=Shawn W Crispin |title=No deal behind Thailand's polls|url=http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/SEA-02-300114.html|accessdate=28 March 2014|newspaper=Asia Times Online|date=30 January 2014}}</ref><ref>{{cite news |author=Brian Rex |title=Thai princess uses social media to 'declare war': Photos posted by Princess Chulabhorn Mahidol widely interpreted as a sign of her support for anti-government protesters|url=http://www.independent.co.uk/news/world/asia/thai-princess-uses-social-media-to-declare-war-photos-posted-by-princess-chulabhorn-mahidol-widely-interpreted-as-a-sign-of-her-support-for-antigovernment-protesters-9122267.html|accessdate=28 March 2014|newspaper=The Independent|date=11 February 2014|location=London}}</ref><ref>{{cite news |author=Thongchai Winichakul |title=The antidemocratic roots of the Thai protesters |publisher=Al Jazeera America |date=26 December 2013 |url=http://america.aljazeera.com/opinions/2013/12/the-antidemocraticrootsofthethaiprotesters.html}}</ref><ref name=powerful_forces>{{cite news|title=Powerful forces revealed behind Thai protest movement|url=http://www.reuters.com/article/2013/12/13/us-thailand-protest-military-idUSBRE9BC0PB20131213|accessdate=28 March 2014|agency=Reuters|date=13 December 2013}}</ref> และสถานภาพชนชั้นกลาง<ref>{{cite web|last=Vorng|first=Sophorntavy|title=Status City: Consumption, Identity, and Middle Class Culture in Contemporary Bangkok|url=http://asiancorrespondent.com/27177/reference-of-the-day-thai-urban-middle-class-and-urban-rural-divide/|work=Asian Correspondent|accessdate=30 May 2014}}</ref><ref>{{cite journal|last=Saxer|first=Marc|title=How Thailand’s Middle Class Rage Threatens Democracy|journal=Social Europe Journal|date=23 January 2014|url=http://www.social-europe.eu/2014/01/thailands-middle-class/|accessdate=30 May 2014}}</ref> เป็นปัจจัยเบื้องหลังวิกฤตการณ์นี้
 
การประท้วงมีสาเหตุจากรัฐบาล[[พรรคเพื่อไทย]]ได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ โดยเสนอในเดือนสิงหาคม 2556<ref>http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/ThaiHealth2014/thai2014_14.pdf</ref>รัฐบาลอ้างว่าจะนิรโทษเฉพาะผู้ชุมนุม และในวันที่ 31 กรกฎาคม 2556 ฝ่ายรัฐบาลตอบโต้การชุมนุมครั้งนี้ด้วยการออก พระราชบัญญัติ ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร [[เขตพระนคร]] [[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] และ[[เขตดุสิต]] ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2556 ถึง 8 สิงหาคม 2556<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/098/1.PDF</ref>ต่อมา [[ประยุทธ์ ศิริพานิชย์]] ได้แปรญัตติ<ref>http://www.naewna.com/politic/73355</ref>ซึ่งจะนิรโทษกรรมความผิดของทุกฝ่ายย้อนหลังไปถึงปี 2547 โดยถูกหลายฝ่ายคัดค้าน ฝ่ายหนึ่งมี[[สุเทพ เทือกสุบรรณ]]และ[[พรรคประชาธิปัตย์]]เป็นผู้นำ และอีกฝ่ายหนึ่งคือ[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.)<!--อันเป็นองค์กรหลักของกลุ่มคนเสื้อแดง--> และคนเสื้อแดงบางส่วน ครั้นวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 [[วุฒิสภาไทย|วุฒิสภา]]ลงมติเป็นเอกฉันท์ไม่เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ทว่า การชุมนุมซึ่งนำโดยสุเทพยังคงดำเนินต่อไป โดยเปลี่ยนเงื่อนไขเป็นการต่อต้านรัฐบาลแทน
 
อีกเหตุการณ์หนึ่ง รัฐสภาพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญว่าด้วยที่มาของสมาชิกวุฒิสภา เพื่อให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งทั้งหมด<ref name="court_rejects_amendments">{{cite news|title=Thailand Constitutional Court rejects Senate amendments|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-24997184|accessdate=12 January 2014|newspaper=BBC News|date=20 November 2013}}</ref><ref>{{cite web|last=Ungpakorn|first=Giles|title=The 19th August Constitutional Referendum Process is Undemocratic|url=http://www.prachatai.com/english/node/149|work=Prachatai English|accessdate=13 January 2014}}</ref> [[พรรคประชาธิปัตย์]]ขอให้[[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]]วินิจฉัยว่า เป็นการให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองโดยไม่เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ<ref>{{cite web | title = ศาล รธน. รับคำร้องวิรัตน์วินิจฉัยแก้รัฐธรรมนูญมาตรา 190 ขัดรัฐธรรมนูญ | trans_title = Charter court accepted to rule on Wirat's request for invalidation of amendment to section 190 of the Constitution on grounds of unconstitutionality | publisher = Manager | date = 2013-11-08 | accessdate = 2014-02-05 | language = Thai | url = http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139531}}</ref> วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556 ศาลวินิจฉัยตามนั้น [[พรรคเพื่อไทย]] ปฏิเสธคำวินิจฉัยนี้<!--โดยให้เหตุผลว่า ศาลรัฐธรรมนูญก้าวล่วงเขตอำนาจของรัฐสภาในการแก้ไขรัฐธรรมนูญตามกระบวนการ รัฐบาลชี้แจงว่า ไม่สามารถขอร่างกฎหมายดังกล่าวคืนได้--><ref>[http://www.dailynews.co.th/Content/politics/196582/เพื่อไทยยันขอถวายคืนร่างรัฐธรรมนูญไม่ได้ เพื่อไทยยันขอถวายคืนร่างรัฐธรรมนูญไม่ได้ - เดลินิวส์]</ref> ในวันที่ 8 ธันวาคม 2556 นายกรัฐมนตรีขอถอนร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวคืนจากพระมหากษัตริย์<ref>http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/politics/20131208/548429/นายกฯขอพระบรมราชานุญาตถอนร่างรธน..html</ref>
 
ฝ่าย นปช. จัดชุมนุมตอบโต้ขึ้นที่[[ราชมังคลากีฬาสถาน]]ตั้งแต่วันที่ 24 พฤศจิกายน ถึง 1 ธันวาคม 2556 ระหว่างนั้น ในวันที่ 25 พฤศจิกายน ผู้ชุมนุมฝ่ายสุเทพเข้ายึดสถานที่ราชการเพื่อบีบให้ปิดทำการ มีเหตุรุนแรงที่สำคัญคือ การปะทะกันบริเวณ[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]ตลอดทั้งวันที่ 30 พฤศจิกายน ถึงเช้าวันที่ 1 ธันวาคม มีผู้เสียชีวิต 4 คน และบาดเจ็บ 57 คน<ref name="Wongruang 2013-12-01">{{cite news|last=Wongruang|first=Piyaporn|title=One killed as 'V-Day' eve violence erupts |url=http://www.bangkokpost.com/news/local/382474/one-killed-as-v-day-eve-violence-erupts|accessdate=1 December 2013|newspaper=Bangkok Post|date=1 December 2013|first2=Manop |last2=Thip-Osod}}</ref><ref name="Post 2013-12-01 Updated toll">{{cite news|title=Updated toll: 4 dead, 57 wounded|url=http://www.bangkokpost.com/news/local/382573/updated-toll-4-dead-57-wounded|accessdate=1 December 2013|newspaper=Bangkok Post|date=1 December 2013}}</ref> การยกระดับการชุมนุมในวันที่ 1 ธันวาคม 2556 ก่อให้เกิดการปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมและตำรวจเป็นเวลาสองวัน ตำรวจใช้[[แก๊สน้ำตา]]และหัวฉีดน้ำ เพื่อยับยั้งไม่ให้ผู้ชุมนุมเข้า[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|ทำเนียบรัฐบาล]] มีผู้บาดเจ็บ 119 คน<ref>{{cite news|title=119 injured in Monday's clashes|url=http://www.bangkokpost.com/breakingnews/382970/death-toll-from-sunday-rises-to-four|accessdate=3 December 2013|newspaper=Bangkok Post|date=3 December 2013}}</ref> จนวันที่ 3 ธันวาคม 2556 ตำรวจจึงเปิดให้ผู้ชุมนุมเข้าไปได้ เพื่อสงบศึกในวันเฉลิมพระชนมพรรษา จากนั้น ผู้ชุมนุมจึงชุมนุมกันต่อ ครั้นวันที่ 8 ธันวาคม 2556 ส.ส. ประชาธิปัตย์ทั้ง 153 คนลาออก และในวันที่ 9 ธันวาคม 2556 นายกรัฐมนตรี[[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย|ยุบสภาผู้แทนราษฎร]] แล้วให้มี[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557|การเลือกตั้งทั่วไป]]ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่สุเทพและผู้ชุมนุมปฏิเสธการเลือกตั้ง และเรียกร้องให้จัดตั้งสภาประชาชนเสียก่อน กลุ่มผู้ประท้วงจึงถูกวิจารณ์ว่า เป็นปฏิปักษ์ต่อประชาธิปไตย <!--ตามต้นฉบับว่า "anti-democratic" --><ref>{{cite news|title=Academics brand people's council 'fascism'|url=http://www.bangkokpost.com/news/politics/384171/academics-brand-people-council-fascism|accessdate=13 January 2014|newspaper=The Bangkok Post|date=11 December 2013}}</ref><ref name="Anti-democracy">{{cite news|title=Thailand's anti-democracy protests should provoke a harsh rebuke from the U.S.|url=http://www.washingtonpost.com/opinions/thailands-anti-democracy-protests-merit-a-rebuke-from-the-us/2014/01/15/ca2205a8-7e1b-11e3-95c6-0a7aa80874bc_story.html|accessdate=22 January 2014|newspaper=The Washington Post|date=15 January 2014}}</ref>
 
วันที่ 13 มกราคม 2557 สุเทพนัดชุมนุมปิดถนนสายหลักในกรุงเทพมหานครเพื่อกดดันรัฐบาล<ref name="suthep_declares_bkk_seizure">{{cite web|title=Protest leader Suthep declares Bangkok seizure after New Year|url=http://www.aseanaffairs.com/thailand_news/politics/protestleader_suthep_declares_bangkok_seizure_after_new_year|work=ASEAN Affairs|publisher=TIME International Management Enterprises Co., Ltd.|accessdate=6 January 2014|date=28 December 2013}}</ref><ref>{{cite news|title=Bangkok Shutdown starts early|url=http://www.bangkokpost.com/news/bangkok-shutdown/389205/bangkok-shutdown-to-start-early|accessdate=24 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=13 January 2014}}</ref> นำไปสู่การใช้ความรุนแรงและอาวุธเป็นระยะ ๆ<ref>{{cite news|title=Thai 'red-shirt' leader shot as emergency rule begins|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-25827976|accessdate=24 January 2014|newspaper=BBC News|date=22 January 2014}}</ref><ref>{{cite news|title=First casualty: Shots fired, man down|url=http://www.bangkokpost.com/news/bangkok-shutdown/389205/bangkok-shutdown-to-start-early|accessdate=24 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=13 January 2014}}</ref><ref>[http://englishnews.thaipbs.or.th/bombings-gunfire-rock-anti-government-protests/ More bombings and gunfire rock anti-government protests"]]. Thai PBS. 17 January 2014. Retrieved 19 January 2014.</ref><ref>[http://www.bangkokpost.com/news/local/390373/another-daylight-blast-wounds-28-ralliers "Another daylight blast wounds 28 ralliers"]. Bangkok Post. 20 January 2014. Retrieved 20 January 2014.</ref>นาย[[สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์]] นำผู้ชุมนุมปิดกระทรวงพลังงาน ต่อมามีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต วันที่ 21 มกราคม 2557 รัฐบาลประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในกรุงเทพมหานครและพื้นที่โดยรอบ<ref>{{cite news|title=Thailand declares Bangkok state of emergency|url=http://www.aljazeera.com/news/asia-pacific/2014/01/thailand-declares-state-emergency-2014121134241527870.html|accessdate=24 January 2014|newspaper=Al Jazeera|date=21 January 2014}}</ref> วันที่ 26 มกราคม 2557 กลุ่มผู้ชุมนุมรวมตัวกันขัดขวางการเลือกตั้งล่วงหน้าในกรุงเทพมหานครและภาคใต้ ทำให้การเลือกตั้งเสียระบบ<ref name="ec_cancels_polling units" >{{cite news|title=EC cancels many polling units|url=http://www.bangkokpost.com/news/local/391549/ec-cancels-many-polling-units|accessdate=26 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=26 January 2014}}</ref> ผู้มีสิทธิเลือกตั้งราว 440,000 คนไม่สามารถออกเสียงลงคะแนนได้ อย่างไรก็ดี รัฐบาลยืนยันเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2557 ว่า การเลือกตั้งต้องดำเนินตามกำหนดต่อไป ท้ายที่สุด มีผู้มาเลือกตั้งคิดเป็นร้อยละ 46.79<ref name="Feb">{{cite news|title=Yingluck commits to Feb 2 election|url=http://www.bangkokpost.com/news/politics/391932/yingluck-commits-to-feb-2-general-election|accessdate=29 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=28 January 2014}}</ref><ref name="Indo">{{cite news|title=46.79 percent turnout in Thailand election|url=http://news.yahoo.com/46-79-percent-turnout-thailand-election-115606989.html|accessdate=6 February 2014|newspaper=Yahoo! News|date=5 February 2014|author=Indo Asian News Service}}</ref>
 
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 สุเทพประกาศยุติการปิดถนนในกรุงเทพมหานครในวันที่ 3 มีนาคม และรวมเวทีการชุมนุมทั้งหมดไปอยู่ที่สวนลุมพินี<ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20140228/179959.html#.UzFU8xB_tQs 'สุเทพ'ประกาศยกเลิกชัตดาวน์กทม.], คม ชัด ลึก, 25 มีนาคม 2557</ref> วันที่ 18 มีนาคม 2557 คณะรัฐมนตรีจึงยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และกลับไปใช้พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 ตั้งแต่วันรุ่งขึ้น<ref>[http://www.posttoday.com/ครม-เลิกพรก-ฉุกเฉินใช้พรบ-มั่นคงแทน ครม.เลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน-ใช้ พ.ร.บ.มั่นคงแทน], โพสต์ทูเดย์, 18 มีนาคม 2557</ref>
 
วันที่ 21 มีนาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า การเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ<!--เพราะไม่เสร็จสิ้นในวันเดียวกันทั่วประเทศ--><ref>{{cite web | title = Breaking News: เลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ โมฆะ มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 | trans_title = Breaking News: Charter court, by 6 votes to 3, invalidated 2 Feb election | url = http://news.voicetv.co.th/thailand/100372.html | publisher = Voice TV | date = 2014-03-21 | accessdate = 2014-03-21 | language = Thai}}</ref><ref>{{cite web | title = Constitutional Court nullifies Feb 2 election | url = http://www.nationmultimedia.com/breakingnews/Constitutional-Court-nullifies-Feb-2-election-30229741.html | publisher = The Nation | date = 2014-03-21 | accessdate = 2014-03-21}}</ref> แกนนำผู้ชุมนุมยืนยันว่า จะทำให้การเลือกตั้งครั้งใหม่ให้มีผลโมฆะ<ref name = "voicetv20140321">{{cite web | title = กปปส. ลั่นทำให้การ ลต. ครั้งใหม่เป็นโมฆะเหมือน 2 ก.พ. | trans_title = PDRC vows to cause new elections invalid in the same way as the 2 Feb election | url = http://news.voicetv.co.th/democracycrisis/100587.html | publisher = Voice TV | date = 2014-03-21 | accessdate = 2014-03-21 | language = Thai}}</ref><ref name = "bbc20140321">{{cite web | url = http://www.bbc.com/news/world-asia-26677772 | title = Thai court rules general election invalid | publisher = BBC | date = 2014-03-21 | accessdate = 2014-03-21}}</ref>
 
วันที่ 7 พฤษภาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่ายิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอีก 9 คน พ้นจากตำแหน่ง<ref>[http://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/download/article/file_import/center9_57.pdf คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๙/๒๕๕๗ วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ระหว่าง นายไพบูลย์ นิติตะวัน สมาชิกวุฒิสภา และคณะ รวม ๒๘ คน ผู้ร้อง กับ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ผู้ถูกร้อง]</ref> วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 เวลา 3 นาฬิกา พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] ประกาศใช้[[กฎอัยการศึก]]ทั่วราชอาณาจักร<ref>[http://www.thairath.co.th/content/423869 'ประยุทธ์' ประกาศกฎอัยการศึก มีผลตี 3 ทหารพรึบสถานีโทรทัศน์ ไทยรัฐ]</ref> อีกสองวันต่อมา กองทัพ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร]]รัฐบาลรักษาการ และให้ผู้ชุมนุมสองฝ่ายยุติการชุมนุม<ref name = "npkc"/>
 
{{Infobox
| bodyclass = bordered
| bodystyle = width:26em
| above = ลำดับเหตุการณ์สำคัญ
| label2 = 31 ต.ค.
| data12 = เริ่มชุมนุม
| label3 = 11 พ.ย.
| data3 = วุฒิสภาปฏิเสธร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ เป็นเอกฉันท์
| label4 = 20 พ.ย.
| data4 = [[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]]วินิจฉัยว่า การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญว่าด้วยที่มาของสมาชิกวุฒิสภาขัดต่อรัฐธรรมนูญ
| label5 = 25 พ.ย.
| data5 = - ผู้ชุมนุมเริ่มบุดยึดสถานที่ราชการ<br />- นายกรัฐมนตรีแถลงเพิ่มพื้นที่บังคับใช้ พ.ร.บ.มั่นคงฯ
| label6 = 30 พ.ย.<br/>- 1 ธ.ค.
| data6 = เกิดเหตุปะทะที่[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
| label7 = 1-3 ธ.ค.
| data7 = เกิดเหตุปะทะใกล้[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|ทำเนียบรัฐบาล]]และกองบัญชาการตำรวจนครบาล
| label8 = 9 ธ.ค.
| data8 = นายกรัฐมนตรียุบสภาผู้แทนราษฎร โดยจัดการเลือกตั้งใหม่ 2 กุมภาพันธ์ 2557
| label9 = 26 ธ.ค.
| data9 = เกิดการปะทะที่[[ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)]] เขตดินแดง
| label10 = 17 ม.ค.
| data10 = มีผู้ขว้างระเบิดลูกเกลี้ยง<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1389952746 ‘อดุลย์′ชี้ระเบิดลูกเกลี้ยงบึ้มบรรทัดทอง ‘จรัมพร′สันนิษฐานของรัสเซีย-จีน รัศมี 15 ม.], ข่าวมติชนออนไลน์, 17 มกราคม 2557.</ref> ใส่ผู้ชุมนุมที่เดินขบวนถึงถนนบรรทัดทอง บาดเจ็บ 41 ราย<ref name="banthat-thong">[http://www.ems.bangkok.go.th/report/Badjeb56/Banthat%20Thong%2020-01-57%20Time%2012.00.pdf สรุปจำนวนผู้บาดเจ็บ จากเหตุการณ์ขว้าง วัตถุต้องสงสัยว่าเป็นระเบิด บริเวณถนนบรรทัดทอง เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557 : ข้อมูลวันที่ 20 มกราคม 2557 เวลา 12:00 น.], ศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร.</ref>
 
| label12 = 26 ม.ค.
| data12 = วันเลือกตั้งล่วงหน้า<br />- กปปส.ขัดขวางผู้ไปใช้สิทธิ<br/>- เกิดเหตุปะทะใกล้ที่เลือกตั้งล่วงหน้า แกนนำ กปท. ถูกยิงเสียชีวิต 1 คน และบาดเจ็บ 12 คน<ref>[http://www.thairath.co.th/content/newspaper/399109 ป่วนกาล่วงหน้า-ซัลโวดับแกนนำ กปท.], ไทยรัฐออนไลน์, 27 มกราคม 2557.</ref>
| label13 = 2 ก.พ.
| data13 = วันเลือกตั้งทั่วไป<br>- ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตดินแดงชุมนุมประท้วงกลุ่ม กปปส. ที่ปิดเขตดินแดง<ref>[http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNNU1UTXpNVEV5TVE9PQ==&subcatid= กลุ่มกปปส.ปิดเขตดินแดง ชาวบ้านไม่พอใจโดนม็อบปาหินใส่], ข่าวสด, 6 กุมภาพันธ์ 2557.</ref>
| label14 = 5 ก.พ.
| data14 = ศาลอาญาอนุมัติหมายจับแกนนำ กปปส. 19 คน ข้อหาฝ่าฝืนพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน<ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9570000014047 ด่วน! ศาลอนุมัติหมายจับ 19 แกนนำ กปปส.ผิด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ], ผู้จัดการออนไลน์, 5 กุมภาพันธ์ 2557.</ref>
| label15 = 18 ก.พ.
| data15 = ตำรวจและผู้ชุมนุมปะทะกันบริเวณแยกสะพานผ่านฟ้าลีลาศ มีผู้บาดเจ็บ 71 คน เสียชีวิต 5 คน<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1392783162 สธ.เผยบาดเจ็บเหตุปะทะรวม 71 ราย เป็น ตร.19 พลเรือน 52 ดับ 5], ข่าวมติชนออนไลน์, 19 กุมภาพันธ์ 2557.</ref>
| label16 = 21 มี.ค.
| data16 = ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า การเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ 2 ก.พ. ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
| label17 = 7 พ.ค.
| data17 = ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอีก 9 คน พ้นจากตำแหน่ง<ref>[http://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/download/article/file_import/center9_57.pdf คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๙/๒๕๕๗ วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ระหว่าง นายไพบูลย์ นิติตะวัน สมาชิกวุฒิสภา และคณะ รวม ๒๘ คน ผู้ร้อง กับ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ผู้ถูกร้อง]</ref>
| label18 = 20 พ.ค.
| data18 = กองทัพประกาศใช้[[กฎอัยการศึก]]
| label19 = 22 พ.ค.
| data19 = กองทัพ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร]]; กปปส., นปช. ยุติการชุมนุม
}}
{{TOC limit|3}}
 
{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2556-2557}}
 
== สาเหตุ ==