ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคอ้วน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ตู่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
ประยุทธ์
{{กล่องข้อมูล โรค
| Name = โรคอ้วน<br /> (Obesity)
| Image = Obesity-waist circumference.PNG
| Caption = ภาพเงาทึบแสดงเส้นรอบเอวของคนปกติ น้ำหนักเกิน และภาวะอ้วน
| DiseasesDB = 9099
| ICD10 = {{ICD10|E|66| |e|65}}
| ICD9 = {{ICD9|278}}
| MedlinePlus = 003101
| eMedicineSubj = med
| eMedicineTopic = 1653
| MeshName = Obesity
| MeshNumber = C23.888.144.699.500
}}
 
'''โรคอ้วน'''เป็น[[โรค|สภาวะทางการแพทย์]]ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมีผลเสียต่อสุขภาพ ทำให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง<ref name="WHO 2000 p.6">WHO 2000 p.6</ref><ref name="HaslamJames">{{cite journal|author=Haslam DW, James WP |title=Obesity |journal=Lancet |volume=366 |issue=9492 |pages=1197–209 |year=2005 |pmid=16198769 |doi=10.1016/S0140-6736(05)67483-1}}</ref> การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจาก[[ดัชนีมวลกาย]] (BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้ำหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) ยกกำลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็น[[น้ำหนักเกิน]]
 
โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[โรคหัวใจ]] [[เบาหวาน]]ชนิดที่ 2 [[obstructive sleep apnea|ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น]] [[มะเร็ง]]บางชนิด และ[[osteoarthritis|โรคข้อเสื่อม]]<ref name=HaslamJames/> โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน การขาดการออกกำลังกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีนหรือพันธุกรรม ความผิดปกติของ[[ต่อมไร้ท่อ]] ยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก สำหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้ำหนักเพิ่มเพราะ[[เมแทบอลิซึม]]ช้านั้นมีหลักฐานสนับสนุนจำกัด โดยเฉลี่ยแล้ว คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรักษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้นคนอ้วนจึงเหนื่อยเร็วกว่าคนผอม <ref>{{cite book|author=Kushner, Robert |title=Treatment of the Obese Patient (Contemporary Endocrinology) |publisher=Humana Press |location=Totowa, NJ |year=2007 |page=158 |isbn=1-59745-400-1 |url=http://books.google.com/?id=vWjK5etS7PMC |doi= |accessdate=April 5, 2009}}</ref><ref name=Anes2000>{{cite journal|last=Adams |first=PG |last2=Murphy |title=Obesity in anaesthesia and intensive care |journal=Br J Anaesth |volume=85 |issue=1 |pages=91–108 |date=July 2000 |pmid=10927998 |doi=10.1093/bja/85.1.91 |url=http://bja.oxfordjournals.org/cgi/content/full/85/1/91 |first2=PG |author-separator=,}}</ref>
 
[[การจำกัดอาหาร]]และ[[การออกกำลังกาย]]เป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง และโดยการเพิ่มการรับ[[ใยอาหาร]] อาจบริโภค[[ยาลดวามอ้วน]]เพื่อลดความอยากอาหารหรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสม หากอาหาร การออกกำลังกายและยาไม่ได้ผล การทำบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon) อาจช่วยให้น้ำหนักลดได้ หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลำไส้ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร<ref>NICE 2006 p.10–11</ref><ref name=balloon2008>{{cite journal|last=Imaz |first=I |last2=Martínez-Cervell |first2=C |last3=García-Alvarez |first3=EE |last4=Sendra-Gutiérrez |first4=JM |last5=González-Enríquez |first5=J |title=Safety and effectiveness of the intragastric balloon for obesity. A meta-analysis |journal=Obes Surg |volume=18 |issue=7 |pages=841–6 |date=July 2008 |pmid=18459025 |doi=10.1007/s11695-007-9331-8 |display-authors=3 |author-separator=,}}</ref>
 
โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้ โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 21<ref name=Barn1999>{{cite journal|last=Barness |first=LA |last2=Opitz |first2=JM |last3=Gilbert-Barness |first3=E |title=Obesity: genetic, molecular, and environmental aspects |journal=American Journal of Medical Genetics |volume=143A |issue=24 |pages=3016–34 |date=December 2007 |pmid=18000969 |doi=10.1002/ajmg.a.32035 |url=|author-separator=,}}</ref> โรคอ้วนถูกระบุว่าเป็นปัญหาในโลกสมัยใหม่อย่างมาก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกตะวันตก) ทว่าในอดีต ความอ้วนถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์ และกระทั่งปัจจุบันก็ยังมีความเชื่อดังกล่าวในบางบริเวณของโลก<ref name=HaslamJames/><ref name=Woodhouse>{{cite journal|author=Woodhouse R |title=Obesity in art: A brief overview |journal=Front Horm Res |volume=36 |issue= |pages=271–86 |year=2008 |isbn=978-3-8055-8429-6 |pmid=18230908 |doi=10.1159/000115370 |url=http://books.google.com/?id=nXRU4Ea1aMkC&pg=PA271&lpg=PA271 |series=Frontiers of Hormone Research}}</ref> ใน ค.ศ. 2013 สมาคมแพทย์อเมริกาจัดความอ้วนเป็นโรค<ref name=NYTimes20130618>{{cite news|url=http://www.nytimes.com/2013/06/19/business/ama-recognizes-obesity-as-a-disease.html?_r=0 |title=A.M.A. Recognizes Obesity as a Disease |last=Pollack |first=Andrew |date=June 18, 2013 |newspaper=New York Times |archiveurl=http://www.webcitation.org/6Hav05TK0 |archivedate=June 18, 2013}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.hhnmag.com/hhnmag/HHNDaily/HHNDailyDisplay.dhtml?id=5870001020 |title=The Facts About Obesity |last1=Weinstock |first1=Matthew |date=June 21, 2013 |website=H&HN |publisher=[[American Hospital Association]] |accessdate=June 24, 2013}}</ref>
 
== สาเหตุ==