ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทือกเขาอัลไต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ blanking
บรรทัด 1:
ชุน
{{ความหมายอื่น|เปลี่ยนทาง=อัลไต |ดูที่= อัลไต (แก้ความกำกวม)}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Berg Belucha.jpg|thumb|250px|ยอดเขาเบลูชา แห่งเทือกเขาชุน]]
 
'''เทือกเขาอัลไต''' เป็น[[เทือกเขา]]ใน[[เอเชียกลาง]] บริเวณพรมแดนร่วมของ[[ประเทศรัสเซีย]] [[ประเทศจีน|จีน]] [[ประเทศมองโกเลีย|มองโกเลีย]] และ[[ประเทศคาซักสถาน|คาซัคสถาน]] และยังเป็นแหล่งกำเนิดของ[[แม่น้ำ]]สายสำคัญ คือ [[แม่น้ำอิร์ทีช]] (Irtysh) [[แม่น้ำอ็อบ]] (Ob) และ[[แม่น้ำเยนิเซ]] (Yenisei) ด้วย ส่วนปลายทางตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขา อยู่ที่พิกัด 52 องศาเหนือ กับระหว่าง 84 และ 90 องศาตะวันออก (ซึ่งไปจรดกลืนเขากับเทือกเขาสายัน (Sayan Mountains) ทางตะวันออก) และทอดยาวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงพิกัด 45 องศาเหนือ 99 องศาตะวันออก แล้วค่อย ๆ ต่ำลง กลืนเข้ากับที่ราบสูงแห่ง[[ทะเลทรายโกบี]]
 
ชื่อ อัลไท ในภาษาตุรกี สะกด "Alytau" หรือ "Altay" มาจากศัพท์ Al (ทองคำ) และ tau (ภูเขา) ในภาษามองโกเลีย เรียกว่า อัลทาอิน-อูลา หมายถึง เทือกเขาแห่งทองคำ เทือกเขาแห่งนี้ ยังมีชื่อเรียกว่า เอก-ทัค (Ek-tagh), อัลไตแห่งมองโกล (Mongolian Altai) อัลไตใหญ่ (Great Altai) และอัลไตใต้ (Southern Altai)
 
เทือกเขาอัลไตยังเป็นที่รู้จักดีในหมู่นักศึกษาประวัติศาสตร์ภาษาไทย เนื่องจากเคยเชื่อกันว่า เป็นที่ตั้งดั้งเดิมของชาวไทยสมัยโบราณ ก่อนจะอพยพลงมาจนถึงบริเวณ[[ประเทศไทย]]ในปัจจุบัน แต่ปัจจุบันนี้ความคิดดังกล่าวไม่ได้รับการสนับสนุนจากนักวิชาการส่วนใหญ่ ทว่ายังมีเนื้อหาเช่นนี้ปรากฏในตำราเรียน หรือหนังสือด้านประวัติศาสตร์อยู่บ้าง
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==