ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารกรุงเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
แก้ภาษากล่องข้อมูลบริษัท
ชื่อคุณบุญมีอุดมจิตร4กันยายน2562ธนาคารกรุงเทพ จำกัดมหาชน
กล่องข้อมูล บริษัท
ภาพFileLogoBangkokBankPublic CompanyLimited.svg
ชื่อคุณบุญมีอุดมจิตร4กันยายน2562ธนาคารกรุงเทพ จำกัดมหาชน
ประเภทบริษัทบริษัทมหาชนSETBBL
ภาพFileLogo Bangkok Bank Public Company Limited.svg
รูปแบบ ธนาคารพาณิชย์
ประเภทบริษัทบริษัทมหาชนSETBBL
ก่อตั้ง 1 ธันวาคม พ.ศ. 2487อายุ2487121ปี
รูปแบบ ธนาคารพาณิชย์
ก่อตั้ง 1 ธันวาคม พ.ศ. 2487อายุ2487121ปี
ผู้ก่อตั้งหลวงรอบรู้กิจ
ที่ตั้งเลขที่ 333ถนนสีลมbrขวงสีลมเขตบางรักกรุงเทพมหานคร
พื้นที่ ธงไทยประเทศไทย
บุคลากรหลักคุณบุญมีอุดมจิตร4กันยายน2562
ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการผู้จัดการใหญ่
บริการ สถาบันการเงิน
รายได้ increase154,265.20 ล้านบาท 2561
เงินได้สุทธิ increase35,329.97 ล้านบาท 2561
สินทรัพย์ increase3,116,750.22 311675022ล้านบาท 2561
จำนวนพนักงาน
คำขวัญ เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน
เว็บไซต์ bangkokbank.com www.bangkokbank.com
หมายเหตุ = intl =
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด มหาชนlang-enBANGKOKlangenBANGKOK BANKBANKPUBLICCOMPANY PUBLIC COMPANY LIMITEDSETBBLset.or.thsetfactsheet.dosymbol=BBLLIMITEDSETBBLsetorthsetfactsheetdosymbolBBLlanguageen&language=en&country=US countryUSสรุปข้อสนเทศบริษัทจดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4กันยายน2562โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน
รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยbangkokbankBangkok+Bank+ThaiAbout+Bangkok+BankAwardsAwardbangkokbankBangkokBankThaiAboutBangkokBankAwardsAward46.htm รางวัลแห่งเกียรติยศ 2546 โดยเว็บไซต์ของธนาคารref>ธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2562refratchakitcha.soc.gothDATAPDFrefratchakitchasocgothDATAPDF2560E23538.PDFrefตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส. สนส172562
 
ไฟล์:ประวัติสำนักงานใหญ่ธนาคารกรุงเทพ.jpgrightthumb|อาคารสำนักงานใหญ่ธนาคารกรุงเทพBangkokBankTower Buriramjpgleftthumbเสาป้ายของธนาคารกรุงเทพสาขาบุรีรัมย์
รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยbangkokbankBangkok+Bank+ThaiAbout+Bangkok+BankAwardsAward46.htm รางวัลแห่งเกียรติยศ 2546 โดยเว็บไซต์ของธนาคารref>ธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2562refratchakitcha.soc.gothDATAPDF2560E23538.PDFrefตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส. 172562
ธนาคารกรุงเทพเริ่มดำเนินการเมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. พศ2487]] มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกเป็นอาคารพาณิชย์ 2 คูหาในย่าน[[ราชวงศ์]] ใจกลางเมืองกรุงเทพฯ โดย[[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]] ร่วมกับคุณหลวงรอบรู้กิจ มีทุนจดทะเบียยน 4.0 ล้านบาท มีพนักงานรุ่นแรก 23 คน คณะกรรมการบริหารประกอบด้วย พล.อ.[[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]] เป็นประธาน และ[[หลวงรอบรู้กิจ]] เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่คนแรกและเป็นผู้ริเริ่มสร้างฐานลูกค้าของธนาคารด้วยการบริการให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าแต่ละราย
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 2 คือ [[ชิน โสภณพนิช]] ซึ่งเป็นผู้จัดการธนาคารที่ครอบครองตำแหน่งได้นานที่สุดถึง 25 ปี ([[พปีพ.ศ. 2495]] - [[พ.ศ. 2520]]) นาย[[ชิน โสภณพนิช]] เป็นบุคคลที่มีแนวคิดริเริ่มที่ให้ธนาคารขยายเครือข่ายสาขาไปยังท้องที่ที่ห่างไกลทั่วประเทศ ที่มีผลผลิตทางการเกษตรที่สมบูรณ์ จนทำให้ธนาคารเป็นหนึ่งในผู้สนับสนุนอุตสาหกรรมการส่งออก และต่อมาในปี [[พ.ศ. 2515]] ธนาคารได้เปลี่ยนตราสัญลักษณ์เป็นรูป [[ดอกบัวหลวง]] ซึ่งใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน
ประวัติ
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2497]] ธนาคารกรุงเทพได้ไปเปิดสาขาที่ต่างประเทศ แห่งแรกคือที่ [[ฮ่องกง]] ต่อมาได้ไปเปิดที่ [[โตเกียว]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] ต่อมาได้ไปเปิดที่ [[สิงคโปร์]]
ไฟล์:สำนักงานใหญ่ธนาคารกรุงเทพ.jpgrightthumb|อาคารสำนักงานใหญ่ธนาคารกรุงเทพ
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 3 คือ [[บุญชู โรจนเสถียร]] เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยนการบริหารงานครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้ธนาคารมีมาตรฐานเท่าเทียมกับต่างประเทศ รวมทั้งนโยบายมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ไฟล์:Bangkok Bank Tower, Buriram.jpgleft|thumbเสาป้ายของธนาคารกรุงเทพ สาขาบุรีรัมย์
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 4 คือ [[ชาตรี โสภณพนิช]] เป็นผู้นำธนาคารกรุงเทพเข้าสู่ยุคทอง ผลประกอบการของธนาคารกรุงเทพในปี [[พ.ศ. 2523]] - [[พ.ศ. 2535]] มีกำไรสุทธิเพิ่มขึ้นถึง 12 เท่า และเป็นครั้งแรกที่ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ทำกำไรสุทธิมากกว่า 10,000 ล้านบาท ธนาคารกรุงเทพคือบริษัทที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ช่วงสมัยนั้น และ เป็น 1 ใน 200 ธนาคารชั้นนำของโลก และในปี [[พ.ศ. 2525]] ได้ย้ายสำนักงานใหญ่ของธนาคารกรุงเทพ จากซอยธนาคารกรุงเทพ ถนนเสือป่า (ปัจจุบันพื้นที่ที่เคยเป็นอาคารสำนักงานใหญ่แห่งเดิมนั้น ก็ได้ถูกลดฐานะมาเป็นสาขาพลับพลาไชย และบางส่วนกลายมาเป็นอาคารพลับพลาไชย){{อ้างอิง}}มาตั้งอยู่ที่ เลขที่ 333 [[ถนนสีลม]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งได้ใช้สำนักงานแห่งนี้มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 5 คือ [[วิชิต สุรพงษ์ชัย|ดรรวนวาืาปืยบวบทยำำาทพงษ์ชัยดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย]] รพงษ์ชัยเป็นผู้ที่มีผลงานด้านกิจการธนาคารในต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ทำให้ธนาคารกรุงเทพเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก
ธนาคารกรุงเทพเริ่มดำเนินการเมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2487]] มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกเป็นอาคารพาณิชย์ 2 คูหาในย่าน[[ราชวงศ์]] ใจกลางเมืองกรุงเทพฯ โดย[[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]] ร่วมกับคุณหลวงรอบรู้กิจ มีทุนจดทะเบียยน 4.0 ล้านบาท มีพนักงานรุ่นแรก 23 คน คณะกรรมการบริหารประกอบด้วย พล.อ.[[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]] เป็นประธาน และ[[หลวงรอบรู้กิจ]] เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่คนแรกและเป็นผู้ริเริ่มสร้างฐานลูกค้าของธนาคารด้วยการบริการให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าแต่ละราย
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 6 คือ [[ชาติศิริ ศิริโสภณพนิช]] เป็นบุตรชายคนโตของ [[ชาตรี โสภณพนิช]] เพียงระยะเวลาแค่ 3 ปีในการบริหารตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดหการเศรษฐกิจไทยที่รุ่งเรืองมานานถึง 30 ปี ก็ได้อวสานลง ด้วยวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในทวีปเอเชีย ซึ่งค่าเงินบาทลดลงอย่างมาก หลังจากที่ประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว สถาบันการเงินหลายรายไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ประสบปัญหาล้มละลาย สถาบันการเงินที่เหลือประสบปัญหา[[หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้]] (NPL) รายไNPเพราะลูกค้าหลายราย ล้วนประสบปัญหาทางการเงิน ท่ามกลางอุปสรรค์เช่นนี้ นายชาติศิริ ศิริโสภณพนิช กลับแก้ "วิกฤติ" ให้เป็น "โอกาส" โดยการเสริมสร้างรากฐานทางการเงินให้แข็งแรงขึ้นอีกครั้ง
 
ปัจจุบัน ธนาคารกรุงเทพ เป็นธนาคารที่มีสินทรัพย์มากที่สุดในประเทศ<ref> [http://wwwrefbangkokbizweek.bangkokbizweek.com/20071202/cover/indexcoverindex.php?news=column_phpnewscolumn25215674.html อนาคตแบงก์ไทย เดินหน้า'ฝ่ามรสุม']</ref>มีสินทรัพย์ทั้งหมดประมาณ 3.06 ล้านล้านบาท มีสาขาทั้งหมดกว่า 1,113 1113สาขา เครื่องเอทีเอ็มกว่า 7,500 7500เครื่อง สาขาไมโคร (Micro Branch) MicroBranchที่เปิดให้บริการ 7 วัน มีเครือข่ายสาขาต่างประเทศทั้งหมด 32 แห่ง และสำนักงานตัวแทนอีกหนึ่งแห่งในเขตเศรษฐกิจสำคัญ 15 แห่ง
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 2 คือ [[ชิน โสภณพนิช]] ซึ่งเป็นผู้จัดการธนาคารที่ครอบครองตำแหน่งได้นานที่สุดถึง 25 ปี ([[พ.ศ. 2495]] - [[พ.ศ. 2520]]) นาย[[ชิน โสภณพนิช]] เป็นบุคคลที่มีแนวคิดริเริ่มที่ให้ธนาคารขยายเครือข่ายสาขาไปยังท้องที่ที่ห่างไกลทั่วประเทศ ที่มีผลผลิตทางการเกษตรที่สมบูรณ์ จนทำให้ธนาคารเป็นหนึ่งในผู้สนับสนุนอุตสาหกรรมการส่งออก และต่อมาในปี [[พ.ศ. 2515]] ธนาคารได้เปลี่ยนตราสัญลักษณ์เป็นรูป [[ดอกบัวหลวง]] ซึ่งใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2497]] ธนาคารกรุงเทพได้ไปเปิดสาขาที่ต่างประเทศ แห่งแรกคือที่ [[ฮ่องกง]] ต่อมาได้ไปเปิดที่ [[โตเกียว]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] ต่อมาได้ไปเปิดที่ [[สิงคโปร์]]
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 3 คือ [[บุญชู โรจนเสถียร]] เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยนการบริหารงานครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้ธนาคารมีมาตรฐานเท่าเทียมกับต่างประเทศ รวมทั้งนโยบายมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 4 คือ [[ชาตรี โสภณพนิช]] เป็นผู้นำธนาคารกรุงเทพเข้าสู่ยุคทอง ผลประกอบการของธนาคารกรุงเทพในปี [[พ.ศ. 2523]] - [[พ.ศ. 2535]] มีกำไรสุทธิเพิ่มขึ้นถึง 12 เท่า และเป็นครั้งแรกที่ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ทำกำไรสุทธิมากกว่า 10,000 ล้านบาท ธนาคารกรุงเทพคือบริษัทที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ณ ช่วงสมัยนั้น และ เป็น 1 ใน 200 ธนาคารชั้นนำของโลก และในปี [[พ.ศ. 2525]] ได้ย้ายสำนักงานใหญ่ของธนาคารกรุงเทพ จากซอยธนาคารกรุงเทพ ถนนเสือป่า (ปัจจุบันพื้นที่ที่เคยเป็นอาคารสำนักงานใหญ่แห่งเดิมนั้น ก็ได้ถูกลดฐานะมาเป็นสาขาพลับพลาไชย และบางส่วนกลายมาเป็นอาคารพลับพลาไชย){{อ้างอิง}}มาตั้งอยู่ที่ เลขที่ 333 [[ถนนสีลม]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งได้ใช้สำนักงานแห่งนี้มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 5 คือ [[วิชิต สุรพงษ์ชัย|ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย]] เป็นผู้ที่มีผลงานด้านกิจการธนาคารในต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ทำให้ธนาคารกรุงเทพเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 6 คือ [[ชาติศิริ โสภณพนิช]] เป็นบุตรชายคนโตของ [[ชาตรี โสภณพนิช]] เพียงระยะเวลาแค่ 3 ปีในการบริหารตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ เศรษฐกิจไทยที่รุ่งเรืองมานานถึง 30 ปี ก็ได้อวสานลง ด้วยวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในทวีปเอเชีย ซึ่งค่าเงินบาทลดลงอย่างมาก หลังจากที่ประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว สถาบันการเงินหลายรายไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ประสบปัญหาล้มละลาย สถาบันการเงินที่เหลือประสบปัญหา[[หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้]] (NPL) เพราะลูกค้าหลายราย ล้วนประสบปัญหาทางการเงิน ท่ามกลางอุปสรรค์เช่นนี้ นายชาติศิริ โสภณพนิช กลับแก้ "วิกฤติ" ให้เป็น "โอกาส" โดยการเสริมสร้างรากฐานทางการเงินให้แข็งแรงขึ้นอีกครั้ง
 
ปัจจุบัน ธนาคารกรุงเทพ เป็นธนาคารที่มีสินทรัพย์มากที่สุดในประเทศ<ref> [http://www.bangkokbizweek.com/20071202/cover/index.php?news=column_25215674.html อนาคตแบงก์ไทย เดินหน้า'ฝ่ามรสุม']</ref>มีสินทรัพย์ทั้งหมดประมาณ 3.06 ล้านล้านบาท มีสาขาทั้งหมดกว่า 1,113 สาขา เครื่องเอทีเอ็มกว่า 7,500 เครื่อง สาขาไมโคร (Micro Branch) ที่เปิดให้บริการ 7 วัน มีเครือข่ายสาขาต่างประเทศทั้งหมด 32 แห่ง และสำนักงานตัวแทนอีกหนึ่งแห่งในเขตเศรษฐกิจสำคัญ 15 แห่ง
 
== ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ==