ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามลายู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อิสระ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
อิสระ
{{ระวังสับสน|ภาษามาเลเซีย}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
|name=ภาษามลายู
|nativename=''{{lang|ms|Bahasa Melayu}}''<br/>{{lang|ms|بهاس ملايو}}
|states={{plainlist|
* [[เขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม]] (ในฐานะภาษาการค้า)
* [[ติมอร์-เลสเต]] (ในฐานะ[[ภาษาอินโดนีเซีย]])
* [[ไทย]] (ในฐานะ[[ภาษามลายูปัตตานี]])
* [[บรูไน]]
* [[มาเลเซีย]]
* [[สิงคโปร์]]
* [[หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)]] (ในฐานะ[[ภาษามลายูโคโคส]])
* [[อินโดนีเซีย]] (ในฐานะ[[ภาษาอินโดนีเซีย]])
}}
|speakers = 77 ล้านคน
|date = 2550
|ref = <ref>Mikael Parkvall, "Världens 100 största språk 2007" (The World's 100 Largest Languages in 2007), in Nationalencyklopedin</ref>
|speakers2=ทั้งหมด : 200–250 ล้านคน (2552)<ref name="How many">{{cite web|last=Uli|first=Kozok|title=How many people speak Indonesian|url=http://ipll.manoa.hawaii.edu/indonesian/2012/03/10/how-many-people-speak-indonesian/|publisher=University of Hawaii at Manoa|accessdate=20 October 2012|date=10 March 2012|quote=James T. Collins (''Bahasa Sanskerta dan Bahasa Melayu'', Jakarta: KPG 2009) gives a conservative estimate of approximately 200 million, and a maximum estimate of 250 million speakers of Malay (Collins 2009, p. 17).}}</ref>
|familycolor=Austronesian
|fam2=[[กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย|มาเลโย-พอลินีเชียน]]
|fam3=[[กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง|มาเลโย-พอลินีเชียนศูนย์กลาง]]
|fam4=[[กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี|ซุนดา-ซูลาเวซี]]
|fam5=[[กลุ่มภาษามาเลย์อิก|มาเลยิก]]
|fam6=[[กลุ่มภาษามลายู|มลายู]]
|ancestor=[[ภาษามลายูเก่า]]
|ancestor2=[[ภาษามลายูคลาสสิก]]
|stand1=[[ภาษามาเลเซีย]]
|stand2=[[ภาษาอินโดนีเซีย]]
|script=[[อักษรละติน]] ([[อักษรรูมี|อักษรมลายู/รูมี]])<br />[[อักษรอาหรับ]] ([[อักษรยาวี]])<ref>{{cite news|url=http://thestar.com.my/news/story.asp?file=/2008/8/26/nation/22168989&sec=nation|title=Kedah MB defends use of Jawi on signboards|date=26 August 2008|publisher=[[The Star (Malaysia)|The Star]]}}</ref><br />
[[อักษรไทย]] (ในไทย)
เดิมใช้[[อักษรปัลลวะ]], [[อักษรกวิ]], [[อักษรเร็นจง]]
|sign=[[Manually Coded Malay]]<br />[[Sistem Isyarat Bahasa Indonesia]]
|nation={{Flag|Brunei}}<br />{{Flag|Malaysia}} (ในฐานะ[[ภาษามาเลเซีย]])<br />{{Flag|Singapore}}<br />{{Flag|Indonesia}} (ในฐานะ[[ภาษาอินโดนีเซีย]])<br />{{Flag|Cocos (Keeling) Islands}} (ดินแดนของ {{Flag|Australia}})
|minority=[[อินโดนีเซีย]]<br /><small>(ภาษามลายูถิ่นมีฐานะเป็นภาษาประจำภูมิภาคในเกาะสุมาตรา นอกเหนือจาก[[ภาษาอินโดนีเซีย]]ที่ใช้เป็นภาษามาตรฐานแห่งชาติ)</small>
|agency=[[สถาบันภาษาและวรรณกรรม (มาเลเซีย)|สถาบันภาษาและวรรณกรรม]] <small>(มาเลเซีย)</small><br />[[สำนักงานพัฒนาและส่งเสริมภาษา (อินโดนีเซีย)|สำนักงานพัฒนาและส่งเสริมภาษา]] <small>(อินโดนีเซีย)</small><br /> [[สภาภาษาบรูไน–อินโดนีเซีย–มาเลเซีย]] <small>(ความร่วมมือสามฝ่าย)</small>
|iso1=ms
|iso2b=may
|iso2t=msa
|iso3=msa<!--The rest of the codes under the [msa] macrolanguage are at [[Malayan languages]] and [[Malay trade and creole languages]]-->
|lingua=31-MFA-a
|lc1=zlm|ld1=ภาษามลายูมาเลเซีย
|lc2=zsm|ld2=ภาษามาเลเซีย
|lc3=ind|ld3=ภาษาอินโดนีเซีย
|lc4=lrt|ld4=ภาษามลายูลารันตูกา ?
|lc5=kxd|ld5=ภาษามลายูบรูไน ?
|lc6=meo|ld6=ภาษามลายูเกอดะฮ์ ?
|lc7=zmi|ld7=ภาษามีนังกาเบา
|lc8=dup|ld8=ภาษาดัวโน ?
|lc9=jak|ld9=ภาษาจากุน ?
|lc10=orn|ld10=ภาษาโอรังกานะก์ ?
|lc11=ors|ld11=ภาษาโอรังเซอเลตาร์ ?
|lc12=tmw|ld12=ภาษาเตอมวน ?
|glotto=indo1326
|glottoname=partial match
|glottorefname=Indonesian Archipelago Malay
|map=Malay language Spoken Area Map v1.png
|mapcaption=
{{legend|#0000ff|อินโดนีเซีย}}
{{legend|#00bc00|มาเลเซีย}}
{{legend|#76f36b|สิงคโปร์และบรูไนซึ่งใช้ภาษามลายูมาตรฐานเป็นภาษาราชการ}}
{{legend|#88caff|ติมอร์-เลสเตซึ่งใช้ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาทำงาน}}
{{legend|#f7f36b|ตอนใต้ของไทยและหมู่เกาะโคโคส (คีลิง) ซึ่งใช้ภาษามลายูรูปแบบอื่น ๆ}}
|notice=IPA
}}
'''ภาษามลายู''' ({{lang-ms|Bahasa Melayu}}) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งใน[[ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน]] มีสถานะเป็นภาษาราชการใน[[บรูไน]], [[มาเลเซีย]], [[สิงคโปร์]] และ[[อินโดนีเซีย]] มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552)<ref name="How many"/> โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟาก[[ช่องแคบมะละกา]] ซึ่งได้แก่ ชายฝั่ง[[คาบสมุทรมลายู]]ของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของ[[เกาะสุมาตรา]]ของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของ[[รัฐซาราวัก|ซาราวัก]]และ[[จังหวัดกาลีมันตันตะวันตก|กาลีมันตันตะวันตก]]ใน[[เกาะบอร์เนียว]] นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของ[[ฟิลิปปินส์]] ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของ[[คาบสมุทรซัมบวงกา]], [[กลุ่มเกาะซูลู]] และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ[[เกาะปาลาวัน]]
 
ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ ({{lang|ms|''Bahasa Kebangsaan''}} หรือ {{lang|ms|''Bahasa Nasional''}}) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" ({{lang|ms|''Bahasa Melayu''}}) ในมาเลเซียเรียกว่า "[[ภาษามาเลเซีย]]" ({{lang|ms|''Bahasa Malaysia''}}) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "[[ภาษาอินโดนีเซีย]]" ({{lang|ms|''Bahasa Indonesia''}}) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน
 
ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของ[[รัฐสุลต่านมะละกา]]และ[[รัฐสุลต่านยะโฮร์|ยะโฮร์]]สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาใน[[กลุ่มภาษามลายู]] จากข้อมูลของ[[เอ็ทนอล็อก]] (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษา[[โอรังอัซลี]]ใน[[มาเลเซียตะวันตก]]) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและ[[ภาษาครีโอล]] (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจาก[[ภาษากลาง]]ที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับ[[ภาษามลายูมากัสซาร์]]ซึ่งปรากฏว่าเป็น[[ภาษาผสม]]
 
== ไวยากรณ์ ==