ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์เลื้อยคลาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
}}
 
'''สัตว์เลื้อยคลาน''' ({{lang-en|reptile}}) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] โดยคำว่า ''Reptilia'' มาจากคำว่า ''ReperaFUCK U'' ที่มีความหมายว่า "ท่านคลาน" เป็น[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ที่จัดเป็นสัตว์ในกลุ่มแรก ๆ ของ[[โลก]]ที่มีการดำรงชีวิตบนบกอย่างแท้จริง สัตว์เลื้อยคลานในยุคดึกดำบรรพ์ที่รอดชีวิตจากการสูญพันธุ์และยังดำรงชีวิตในปัจจุบัน มีจำนวนมากถึง 7,000 ชนิด<ref name="ชนิดของสัตว์เลื้อยคลาน">ชนิดของสัตว์เลื้อยคลาน, สัตววิทยา, บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]], 2547, หน้า 364</ref> กระจายอยู่ทั่วโลกทั้งชนิดอาศัยใน[[น้ำ|แหล่งน้ำ]]และบนบก จัดเป็นกลุ่มของสัตว์ที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสภาพร่างกายในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์[[อุกกาบาต|หินอุกกาบาต]]พุ่งชน[[โลก]]มามากกว่า 100 ล้านปีมาแล้ว
 
ใน[[ยุคจูแรสซิก]]ที่อยู่ใน[[มหายุคมีโซโซอิก]] ซึ่งมีอายุของยุคที่ยาวนานถึง 100 ล้านปี จัดเป็นยุคที่สัตว์เลื้อยคลานมีวิวัฒนาการจนถึงขีดสุด<ref>[http://www2.sac.or.th/databases/museumdatabase/detail_museum.php?get_id=52-010 มีโซโซอิก: มหายุคแห่งสัตว์เลื้อยคลานและไดโนเสาร์]</ref> มีสัตว์เลื้อยคลานมากมายหลากหลายขนาด ตั้งแต่[[กิ้งก่า]]ตัวเล็ก ๆ จนถึง[[ไทรันโนซอรัส เร็กซ์]]ซึ่งเป็น[[ไดโนเสาร์]]กินเนื้อขนาดใหญ่ ที่มีจำนวนมากมายครอบครองพื้นที่ทั่วทุกแห่งในโลก ยุคจูแรสซิกจึงถือเป็นยุคของสัตว์เลื้อยคลานอย่างแท้จริง ต่อมาภายหลังเกิดเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลก ทำให้กลุ่มสัตว์บกที่อาศัยในยุคจูแรสซิก เกิดล้มตายและสูญพันธุ์อย่างกะทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุของการสูญพันธุ์ที่ชัดเจนและแน่นอน