ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีอติชน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
ทฤษฎีอติชน, ทฤษฎีอภิชน, ทฤษฎีอภิสิทธิชน
elite theory
-->
ในสาขา[[รัฐศาสตร์]]และ[[สังคมศาสตร์]] '''ทฤษฎีอติชน''' หรือ '''ทฤษฎีอภิชน'''<ref name=RoyalDict>{{Citation | title = elite theorism | quote = (รัฐศาสตร์) ทฤษฎีนิยมอติชน, ทฤษฎีนิยมอภิชน | work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}</ref>
({{lang-en |elite theory}})
เป็น[[ทฤษฎี]]ที่มุ่งหมายจะพรรณนาและอธิบายความสัมพันธ์ของกลุ่มอำนาจต่าง ๆ ใน[[สังคม]]ปัจจุบัน
โดยอ้างว่า ชนกลุ่มน้อยที่เป็นสมาชิกของอภิสิทธิชนทางเศรษฐกิจหรือของเครือข่ายการกำหนด[[นโยบายสาธารณะ|นโยบาย]] จะมีอำนาจมากที่สุดในสังคม โดยอำนาจนี้จะเป็นอิสระจากกระบวน[[การเลือกตั้ง]]ของ[[ประชาธิปไตย]]
คืออาศัยตำแหน่งใน[[บรรษัท]]หรือการเป็นสมาชิกคณะกรรมการบริษัท หรืออาศัยตำแหน่งใน[[สถาบันนโยบาย]]หรือกลุ่มอภิปรายนโยบาย หรืออาศัยอิทธิพลเหนือเครือข่ายบุคคลที่วางนโยบายโดยให้การสนับสนุนทางการเงินแก่มูลนิธิ/องค์กรต่าง ๆ
สมาชิกของกลุ่มอภิสิทธิชนจะมีอำนาจสำคัญในการตัดสินนโยบายของบริษัทหรือของ[[รัฐบาล]]
ตัวอย่างที่เห็นได้ก็คือ บทความใน[[นิตยสาร]][[ฟอบส์]] ชื่อว่า ''"ผู้มีอำนาจมากที่สุดในโลก (The World's Most Powerful People)"''
ที่แสดงรายการบุคคลที่นิตยสารอ้างว่ามีอำนาจมากที่สุดในโลก (โดยแต่ละคนเทียบเท่ากับคน 100,000,000 คนอื่น)<ref>{{Cite web | title = The World's Most Powerful People | url = http://www.forbes.com/2009/11/11/worlds-most-powerful-leadership-power-09-people_land.html | website = Forbes | accessdate = 2015-09-09 | date = 2009-11-11}}</ref>
ลักษณะทางสังคมที่เข้าข่ายทฤษฎีโดยพื้นฐานก็คือ อำนาจมีการรวมศูนย์ อภิสิทธิชนพร้อมเพรียงกัน
คนที่ไม่ใช่อภิสิทธิชนมีหลากหลายและไร้อำนาจ เทียบกับผลประโยชน์/สิ่งที่อภิสิทธิชนสนใจที่มีเอกภาพเนื่องจากมีพื้นเพหรือตำแหน่งที่คล้ายคลึงกัน โดยลักษณะเฉพาะของการมีอำนาจก็คือการมีตำแหน่งใน[[สถาบัน]]<ref>{{Cite book | url = https://www.worldcat.org/oclc/746832550 | title = Political sociology : oppression, resistance, and the state | last = Deric. | first = Shannon, | date = 2011-01-01 | publisher = Pine Forge Press | isbn = 9781412980401 | oclc = 746832550}}</ref>
 
แม้กลุ่มอาจจะไม่ได้อยู่ในเครือข่ายอำนาจธรรมดาของรัฐ (เช่นในประวัติศาสตร์ อาจจะเป็นเพราะเกณฑ์ต่าง ๆ รวมทั้งความป็น[[ขุนนาง]] [[เชื้อชาติ]] [[เพศ]] หรือ[[ศาสนา]])
ทฤษฎีก็ยังแสดงว่า "กลุ่มต้านอภิสิทธิชน" (counter-elites) บ่อยครั้งก็จะเกิดภายในกลุ่มที่ถูกยกเว้นเช่นนี้
ดังนั้น การเจรจาต่อรองระหว่างกลุ่มเช่นนี้กับรัฐ จึงมองได้ว่าเป็นการต่อรองระหว่างกลุ่มต่อต้านอภิสิทธิชนกับกลุ่มอภิสิทธิชน
ซึ่งก็จะทำให้เห็นปัญหาสำคัญอีกอย่างว่า อภิสิทธิชนสามารถรวบผู้ต่อต้านให้เป็นพวกได้
 
ทฤษฎีอภิสิทธิชนเป็นเรื่องตรงข้ามกับทฤษฎี[[พหุนิยมทางการเมือง]]
ซึ่งสมมุติว่า ทุก ๆ คน หรืออย่างน้อยก็กลุ่มสังคมต่าง ๆ จะมีอำนาจเท่ากันและจะถ่วงดุลกันเอง ทำให้ได้ผลลัพธ์ทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย และที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของคนทั้งหมดในสังคม
เทียบกับทฤษฎีนี้ที่อ้างว่า ประชาธิปไตยเป็นเรื่องเหลวไหลแบบ[[อุตมรัฐ]]
หรือไม่ก็เป็นไม่ไปได้ในกรอบของ[[ทุนนิยม]] ซึ่งเป็นมุมมองปัจจุบันที่เข้ากับ[[ลัทธิมากซ์]]ได้
 
== ทฤษฎีดั้งเดิม ==
ทฤษฎีนี้โดยเฉพาะกับคนชั้นขุนนาง เป็นทฤษฎีดั้งเดิมที่อาศัยแนวคิดสองอย่าง คือ