ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิ้นจี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{taxobox
|name = ลิ้นจี่
|image = Lychee.jpg
|image_caption = ผลลิ้นจี่
|regnum = [[Plantae]]
|unranked_divisio = [[Angiosperms]]
|unranked_classis = [[Eudicots]]
|unranked_ordo = [[Rosids]]
|ordo = [[Sapindales]]
|familia = [[Sapindaceae]]
|genus = '''''Litchi'''''
|genus_authority = [[Pierre Sonnerat|Sonn.]]
|species = '''''L. chinensis'''''
|binomial = ''Litchi chinensis''
|binomial_authority = Sonn.
|}}
'''ลิ้นจี่''' เป็นชื่อของผลไม้ประเภทผลเดี่ยวซึ่งมีลักษณะเปลือกสีประเทศไทยที่สามารถนำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายในรูปของผลไม้สดและผลไม้แปรรูป ปัจจุบันนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความหลากหลายขึ้นเรื่อยๆจากสายพันธุ์ดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว
 
ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงใน[[ประวัติศาสตร์จีน]]ในสมัย[[ราชวงศ์ถัง]] โดยเป็นผลไม้โปรดของ[[หยางกุ้ยเฟย]] พระสนมของ[[จักรพรรดิถังเสวียนจง]] ทรงบัญชาให้[[ทหารม้า]]นำลิ้นจี่จากแหล่งปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่[[ฉางอาน]]
 
เปลือกผลของลิ้นจี่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ<ref>อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ ประภัสสร รักถาวร เมทิกา ลีบุญญานนท์ และพจมาน พิศเพียงจันทน์. 2553. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การต้านอนุมูลอิสระ และการต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิวของสารสกัดจากเปลือกผลไม้. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 3-5 ก.พ. 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 364-373</ref>
 
{{คุณค่าทางโภชนาการ | name=ลิ้นจี่ (ส่วนที่รับประทานได้) | note=ส่วนที่รับประทานได้เท่ากับ 60% ของน้ำหนักรวม | kJ=276 | protein=0.8 g | fat=0.4 g | fiber=1.3 g | carbs=16.5 g | sugar=15.2 g | calcium_mg=5 | magnesium_mg=10 | phosphorus_mg=31 | vitC_mg=72 | source_usda=1 | right=1}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}