ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เม่นทะเล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
หอยเม่นก็คือ.........เม่นทะเลเออนั้นและพะพเัั้ัััี่้ะิเพ้ี๕ฑะ้ิร๕๖ัืเ
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Taxobox
| color = pink
| name = เอไคนอยด์
| image = SeaUrchin.jpg
| image_width = 250px
| image_caption =
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Echinodermata]]
| subphylum = [[Echinozoa]]
| classis = '''Echinoidea'''
| classis_authority=[[Nathaniel Gottfried Leske|Leske]], 1778
| subdivision_ranks = Subclasses
| subdivision =
* Subclass [[Perischoechinoidea]]
** Order [[Cidaroida]] (pencil urchins)
* Subclass [[Euechinoidea]]
** Superorder [[Atelostomata]]
*** Order [[Cassiduloida]]
*** Order [[Spatangoida]] (heart urchins)
** Superorder [[Diadematacea]]
*** Order [[Diadematoida]]
*** Order [[Echinothurioida]]
*** Order [[Pedinoida]]
** Superorder [[Echinacea (animal)|Echinacea]]
*** Order [[Arbacioida]]
*** Order [[Echinoida]]
*** Order [[Phymosomatoida]]
*** Order [[Salenioida]]
*** Order [[Temnopleuroida]]
** Superorder [[Gnathostomata (echinoid)|Gnathostomata]]
*** Order [[Clypeasteroida]] (sand dollars)
*** Order [[Holectypoida]]
}}
 
'''เม่นทะเล''' หรือ '''หอยเม่น''' ({{lang-en|Sea urchin}}) เป็นสัตว์ในชั้น '''เอไคนอยเดีย''' (Echinoidea) ใน[[ไฟลัม]][[เอไคโนดอร์มาทา]] และอยู่ในกลุ่มเอคไคนอยด์ที่มีสมมาตร อาศัยอยู่ตามพื้นแข็ง มีสีต่างกัน ด้านที่เกาะกับพื้นเป็นปาก [[ทวารหนัก]]อยู่กลางลำตัว ด้านบนสุด เม่นทะเลจะมีหนามสองขนาด หนามขนาดยาวใช้ในการผลักดันพื้นแข็ง ขุดคุ้ยสิ่งต่างๆหรือช่วยในการฝังตัว หนามเล็กสั้นใช้ยึดเกาะเวลาปีนป่าย เม่นทะเลที่มีพิษจะมีหนามที่กลวงและมีพิษอยู่ภายใน หนามนี้จะแทงทะลุผิวหนังได้ง่าย เมื่อหักจะปล่อยสารพิษออกมา อาหารของเม่นทะเลคือ[[สาหร่าย]] สัตว์ที่ตายแล้ว และ[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]]ที่เกาะอยู่กับที่ มีตาด้วย
== อ้างอิง ==
* บพิธ จารุพันธุ์ และ นันทพร จารุพันธุ์. 2540. สัตววิทยา. กทม. สำนักหิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์