ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตารางธาตุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Natthapongbreez (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Natthapongbreez (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 45:
=== หมู่ ===
{{main|หมู่ (ตารางธาตุ)}}
===หมู่=== เป็นแถวแนวตั้งในตารางธาตุ หมู่ยังถูกใช้เพื่อตรวจสอบแนวโน้มของธาตุ ซึ่งเห็นชัดได้กว่าคาบหรือบล็อก [[ทฤษฎีควอนตัม]]ของอะตอมได้อธิบายว่าธาตุในหมู่เดียวกันมีสมบัติทางเคมีเหมือนกัน เนื่องจากมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนที่เหมือนกันใน[[วงวาเลนซ์]]ของมัน<ref>Scerri 2007, p. 24</ref> ดังนั้นธาตุในหมู่เดียวกันมักจะมีสมบัติทางเคมีที่ชัดเจนขึ้นเมื่อเลขอะตอมมากขึ้น<ref>{{cite book |last=Messler|first=R. W.|title=The essence of materials for engineers|year=2010|publisher=Jones & Bartlett Publishers|location=Sudbury, MA|isbn=0-7637-7833-8|page=32}}</ref> ถึงอย่างนั้น บางส่วนของตารางธาตุก็ไม่ได้เป็นไปตามนี้ เช่นธาตุในบล็อก-d หรือบล็อก-f<ref>{{Cite book |last=Bagnall|first=K. W.|year=1967|contribution=Recent advances in actinide and lanthanide chemistry|title=Advances in chemistry, Lanthanide/Actinide chemistry|volume=71|pages=1–12|publisher=American Chemical Society|doi=10.1021/ba-1967-0071|editor1-first=P.R.|editor1-last=Fields|editor2-first=T.|editor2-last=Moeller |series=Advances in Chemistry |isbn=0-8412-0072-6 |postscript=.}}</ref><ref>{{cite book |last1=Day|first1=M. C., Jr.|last2=Selbin|first2=J.|title=Theoretical inorganic chemistry|year=1969|publisher=Nostrand-Rienhold Book Corporation|edition=2nd|location=New York|isbn=0-7637-7833-8|page=103}}</ref><ref>{{cite book |last1=Holman|first1=J.|last2=Hill|first2=G. C.|title=Chemistry in context|year=2000|publisher=Nelson Thornes|edition=5th|location=Walton-on-Thames|isbn=0-17-448276-0|page=40}}</ref>
 
ภายใต้การตั้งชื่ออย่างเป็นทางการหมู่ที่มีเลข 1 ถึง 18 จากฝั่งซ้ายสุด (โลหะแอลคาไล) มายังฝั่งขวาสุด (แก๊สมีตระกูล) <ref name="IUPAC">{{cite book |title=Nomenclature of Inorganic Chemistry: Recommendations 1990|last=Leigh |first=G. J. |year=1990 |publisher=Blackwell Science |isbn=0-632-02494-1}}</ref> ก่อนหน้านั้นพวกมันรู้จักในรูปแบบของ[[ระบบเลขโรมัน|เลขโรมัน]] ในสหรัฐอเมริกา เลขโรมันเหล่านี้ตามด้วยอักษร "A" เมื่อหมู่นั้นอยู่ใน[[บล็อก-s]] หรือ [[บล็อก-p|p]] และตามด้วยอักษร "B" เมื่อหมู่นั้นอยู่ใน[[บล็อก-d]] เลขโรมันใช้เพื่อต่อท้ายเลขตัวสุดท้ายที่บอกหมู่ (เช่น ธาตุหมู่ 4 เป็น IVB และธาตุหมู่ 14 เป็น IVA) ในยุโรป การแบ่งในลักษณะนี้มีขึ้นเหมือนกัน ยกเว้นหมู่ที่ใช้อักษร "A" จะใช้เมื่อเป็นหมู่ที่ 10 ลงมา และ "B" จะใช้เมื่อเป็นหมู่ที่ 10 และหมู่ที่ 10 ขึ้นไป นอกจากนี้หมู่ที่ 8 9 และ 10 เป็นหมู่ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่อื่น ๆ 3 เท่า โดยทั้งหมดมีชื่อหมู่ว่า VIII แต่ใน พ.ศ. 2531 ระบบการตั้งชื่อใหม่ของไอยูแพกก็เกิดขึ้นและการตั้งชื่อหมู่แบบเก่าก็ถูกยกเลิกไป<ref>{{cite journal |last1=Fluck |first1=E.|year=1988 |title=New Notations in the Periodic Table |journal=[[Pure and Applied Chemistry|Pure Appl. Chem.]]|volume=60|pages=431–436 |publisher=[[International Union of Pure and Applied Chemistry|IUPAC]]|doi=10.1351/pac198860030431 |url=http://www.iupac.org/publications/pac/1988/pdf/6003x0431.pdf|accessdate=24 March 2012 |issue=3 }}</ref>