ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงสี่สุภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
ขี้กากฉาบร้านพี่เกมม.1/3 อิอิ จี้กากเพาะพันธ์บนหัว
'''โคลงสี่สุภาพ''' เป็น[[โคลง]]ชนิดหนึ่งที่กวีนิยมแต่งมากที่สุด ขี้กากฉาบ
 
==ลักษณะบังคับ== ขี้กากฉาบน้ำผึ้ง
 
{{โคลงสี่สุภาพ|๐ ๐ ๐ เอก โท|๐ x (๐ ๐)|๐ เอก ๐ ๐ x|เอก '''โท'''|๐ ๐ เอก ๐ x|๐ เอก (๐ ๐)|๐ เอก ๐ ๐ '''โท'''|เอก โท ๐ ๐ }}
 
หนึ่งบทมี 30 คำ แบ่งเป็น 4 บาท 3 บาทแรกบาทละ 7 คำ บาทที่สี่ 9 คำ แต่ละบาทแบ่งเป็น 2 วรรค วรรคแรก 5 คำ วรรคหลัง 2 คำ เว้นบาทสุดท้าย วรรคหลัง 4 คำ มีสร้อยได้ในบาทแรก บาทที่สาม และบาทที่สี่ ส่งสัมผัสจากคำที่ 7 บาทแรกไปยังคำที่ 5 ในบาทที่สองและสาม กับคำสุดท้ายวรรคที่สองไปยังคำที่ 5 บาทที่สี่ บังคับเอก 7 แห่ง โท 4 แห่งดังคำโคลงอธิบายต่อไปนี้
เมนูต่อไปนี้
ชาขี้กากฉาบ
ปัดเผ็ดขี้กาก
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ ให้ปลายบาทเอกนั้น |มาฟัด
|ห้าที่บทสองวัจน์ |ชอบพร้อง
|บาทสามดุจเดียวทัด |ในที่ เบญจนา
|ปลายแห่งบทสองต้อง |ที่หน้าบทหลัง ๚ะ}}
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ ที่พินทุ์โทนั้นอย่า |พึงพินทุ์ เอกนา
|บชอบอย่างควรถวิล |ใส่ไว้
|ที่พินทุ์เอกอย่าจิน |ดาใส่ โทนา
|แม้วบมีไม้ |เอกไม้โทควร ๚ะ}}
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ บทเอกใส่สร้อยได้ |โดยมี
|แม้วจะใส่บทตรี |ย่อมได้
|จัตวานพวาที |ในที่ นั้นนา
|โทที่ถัดมาใช้ |เจ็ดถ้วนคำคง ๚ะ}}
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ บทต้นทั้งสี่ใช้ |โดยใจ
|แม้วจะพินทุ์ใดใด |ย่อมได้
|สี่ห้าที่ภายใน |บทแรก
|แม้นมาทจักมีไม้ |เอกไม้โทควร ๚ะ
|ที่มา=จินดามณี ฉบับพระโหราธิบดี}}
 
คำเอก โท ในบาทแรกของโคลงอาจสลับที่กันได้ และอนุโลมให้ใช้คำตายแทนคำเอกในที่ที่หาคำเอกไม่ได้ แต่ไม่นิยมใช้เอกโทษและโทโทษ ดังกล่าวไว้ในจินดามณี ฉบับหลวงวงศาธิราชสนิท ดังต่อไปนี้
 
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ เอกโทเปลี่ยนผลัดได้ |โดยประสงค์
|แห่งที่ห้าควรคง |บทต้น
|บทอื่นอาจบ่ปลง |แปลงแบบ นาพ่อ
|เฉภาะแต่บทหนึ่งพ้น |กว่านั้นฤๅมี ๚ะ}}
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ เอกเจ็ดหายากแท้ |สุดแสน เข็ญเอย
|เอาอักษรตายแทน |เทียบได้
|โทสี่ประหยัดหน |หวงเปลี่ยน
|ห่อนจักหาอื่นใช้ |ต่างนั้นไป่มี ๚ะ}}
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ เอกโทผิดที่อ้าง |ออกนาม โทษนา
|จงอย่ายลอย่างตาม |แต่กี้
|ผจงจิตรคิดพยายาม |ถูกถ่อง แท้แฮ
|ยลเยี่ยงปราชญ์สับปลี้ |เปล่าสิ้นสรรเสริญ ๚ะ}}
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ ใช้ได้แต่ปราชญ์คร้าน |การเพียร
|ปราชญ์ประเสริฐดำเนียร |หมิ่นช้า
|ถือเท็จท่านติเตียน |คำตู่ คำนา
|มักง่ายอายอับหน้า |อาจถ้อเถียงไฉน ๚ะ}}
 
โคลงสี่สุภาพมี 30 คำ เมื่อหัก เอก 7 โท 4 แล้ว ส่วนที่เหลือ 19 คำแม้ไม่กำหนดรูปวรรณยุกต์ ในท้ายวรรคทุกวรรคต้องไม่มีรูปวรรณยุกต์ เพราะจะทำให้น้ำหนักของโคลงเสียไป ได้แก่คำที่กากบาทในแผนผังข้างล่าง
 
{{โคลงสี่สุภาพ
|๐ ๐ ๐ เอก โท|๐ X (๐ ๐)
|๐ เอก ๐ ๐ X|เอก โท
|๐ ๐ เอก ๐ X|๐ เอก (๐ ๐)
|๐ เอก ๐ ๐ โท|เอก โท ๐ X )}}
 
คำสุดท้ายของโคลงนอกจากจะห้ามมีรูปวรรณยุกต์แล้ว กวียังนิยมใช้เพียงเสียงสามัญ หรือ จัตวา เท่านั้น
 
อนึ่ง เคยมีความเข้าใจกันว่า บาทที่สี่มีสร้อยไม่ได้ แต่หากพิจารณาคำอธิบายการแต่งโคลงในจินดามณีแล้วน่าจะตีความได้ว่าโคลงสี่สุภาพมีสร้อยได้ทุกบาทยกเว้นบาทที่สอง
 
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ บทเอกใส่สร้อยได้ |โดยมี
|แม้วจะใส่บทตรี |ย่อมได้
|จัตวานพวาที |ในที่ นั้นนา
|โทที่ถัดมาใช้ |เจ็ดถ้วนคำคง ๚ะ}}
 
:ห้ามเพลิงไว้อย่าให้ มีควัน
:ห้ามสุริยะแสงจันทร์ ส่องไซร้
:ห้ามอายุให้ทัน คืนเล่า
:ห้ามดังนี้ไว้ได้ จึงห้ามนินทา
:::(ถอดความ)
:::วรรคแรก ในบาทแรกนั้น มีคำสร้อยได้
:::วรรคที่สอง และอาจใส่ในบาทที่สามได้อีก
:::วรรคที่สาม และรวมทั้งท้ายคำที่เก้าของบาทที่สี่ด้วย
:::วรรคที่สี่ ในบาทสองที่เหลืออยู่ ให้คงมีเพียงเจ็ดคำ (=ไม่มีสร้อย)
 
ทั้งนี้มีตัวอย่างโคลงในวรรณกรรมยืนยันได้แก่
 
{{โคลงสี่สุภาพ|๏ ตีอกโอ้ลูกแก้ว |กลอยใจ แม่เฮย
|เจ้าแม่มาเป็นใด |ดั่งนี้
|สมบัติแต่มีใน |ภาพแผ่น เรานา
|อเนกบรู้กี้ |โกฏิไว้จักยา '''พ่อนา''' ๚ะ
|source=ลิลิตพระลอ}}
 
 
{{โคลงสี่สุภาพ
|๏ จรุงพจน์จรดถ้อยห่าง |ทางกวี
|ยังทิวาราตรี |ไม่น้อย
|เทพใดหฤทัยมี |มาโนชญ์
|เชิญช่วยอวยให้ข้อย |คล่องถ้อยคำแถลง '''เถิดรา''' ๚ะ
|source=สามกรุง }}
 
==โคลงตัวอย่าง==