ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นายกรัฐมนตรีไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
== ประวัติ ==
ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นมีขึ้นภายหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475]] เรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" ตาม[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/166.PDF พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475], ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558</ref> และภายหลัง[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก]]ลงพระปรมาภิไธยใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475]] เมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2475]] ก็เปลี่ยนมาเรียก "นายกรัฐมนตรี"<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/529.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475], ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 เมษายน 2558</ref> โดยมีตราประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นตราราชสีห์คชสีห์รักษารัฐธรรมนูญ และเป็นตราประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย
 
== การดำรงตำแหน่ง ==
<!--- [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]บัญญัติไว้ว่า [[สภาผู้แทนราษฎร]]จะต้องมีมติเห็นชอบให้ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ซึ่งโดยส่วนมากมักจะเป็นตัวแทนหรือหัวหน้า[[พรรคการเมือง]]ที่มี[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ที่ได้รับเลือกมากที่สุดใน[[สภาผู้แทนราษฎร]] แม้รัฐธรรมนูญจะมิได้บัญญัติไว้เช่นนั้นก็ตาม และอาจเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]หรือไม่ก็ได้ตามแต่[[รัฐธรรมนูญ]]ที่มีใช้ผลบังคับอยู่ในขณะนั้น เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากนั้น [[พระมหากษัตริย์ไทย]]จึงจะมี[[พระบรมราชโองการ]]โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไป --->