ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระนารายณ์มหาราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 25:
== พระราชประวัติ ==
=== พระราชสมภพ ===
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เสด็จพระบรมราชสมภพ เมื่อวันจันทร์ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ. 2175 เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]] กับพระนางศิริธิดา ต่อมาภายหลังยกเป็นพระราชเทวี และมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดาคือ[[สมเด็จเจ้าฟ้าศรีสุพรรณ กรมหลวงโยธาทิพ]] หรือพระราชกัลยาณี<ref name="ประวัติ"/><ref>{{cite web |url=http://www.vajiravudh.ac.th/VC_Annals/vc_annal2.htm|title=โรงเรียนยุพราชพระราชวังสราญรมย์|author=วรชาติ มีชูบท|date=|work= |publisher=จดหมายเหตุวชิราวุธ|accessdate=21 มิถุนายน 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://digi.library.tu.ac.th/journal/0263/1_3_mar_2550/11PAGE51_PAGE67.pdf|title=กรุงเทพมหานครกับภูมิหลังการสร้างวัง|author=จารุณี ฐานรตาภรณ์|date=มีนาคม 2550|work= |publisher=วารสารยุติธรรมปริทัศน์|accessdate=21 มิถุนายน 2557}}</ref><ref name= "กัลยาณี">ส.พลายน้อย. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมพี่น้องต่างมารดาแห่งราชสำนักสยาม''. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, หน้า 23</ref>คือ สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
หลังคลอดแล้ว พระญาติมาเยี่ยม พบว่าเด็กมีสี่แขน สมเด็จพระเจ้าปราสาททองจึงตั้งพระนามว่า นารายณ์กุมาร เจ้าฟ้าอภัยทศ เจ้าฟ้าน้อย เจ้าฟ้าไตรภูวนาทิตย์ พระองค์ทอง พระอินทราชา
 
พระราชบิดาและพระราชมารดาเป็นเครือญาติกัน [[หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย]]ระบุว่า พระมารดาของพระนารายณ์เป็น "...พระขนิษฐาต่างมารดาของพระเจ้าปราสาททอง"<ref name="ประวัติ"/> แต่งานเขียนของนิโคลาส์ เดอ แซร์แวส ระบุว่า มารดาเป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]]<ref>นิโคลาส์ เดอ แซร์แวส (เขียน) สันต์ ท. โกมลบุตร (แปล). ''ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม''. พระนคร:ก้าวหน้า. 2506, หน้า 225</ref> ส่วนพระราชบิดาคือ[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]] [[เยเรเมียส ฟาน ฟลีต|ฟาน ฟลีต]] ระบุว่า เป็นลูกของน้องชายพระราชมารดาในสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม<ref>ดู [[เยเรเมียส ฟาน ฟลีต|Van Vliet, Jeremias]]. ''The Short History of the Kings of Siam''. Bangkok:The Siam Society. 1975, p. 94 อ้างใน [[นิธิ เอียวศรีวงศ์]]. ''การเมืองไทยสมัยพระนารายณ์''. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ:มติชน. 2545, หน้า 27</ref>
 
พระองค์มีพระนมที่คอยอุปถัมภ์อำรุงมาแต่ยังทรงพระเยาว์คือ พระนมบัว มีบุตรสองคนคือ เหล็ก(เจ้าพระยาโกษาธิบดี) และ ปาน(เจ้าพระยาโกษาธิบดี พระคลัง) อีกหน฿๋งท่านคือ พระนมเปรม มีบุตรคือ
พระองค์มีพระนมที่คอยอุปถัมภ์อำรุงมาแต่ยังทรงพระเยาว์ คือ [[เจ้าแม่วัดดุสิต]] ซึ่งเป็นญาติห่าง ๆ ของพระเจ้าปราสาททองเช่นกัน<ref name="ประวัติ"/> กับอีกท่านหนึ่งคือพระนมเปรม ที่ฟร็องซัว อ็องรี ตุรแปง (François Henry Turpin) ระบุว่าเป็นเครือญาติของสมเด็จพระนารายณ์<ref>"...พระเพทราชามีเชื้อสายกษัตริย์ และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับสมเด็จพระนารายณ์..." อ้างใน ฟรังซัวส์ อังรี ตุรแปง (เขียน), สมศรี เอี่ยมธรรม (แปล). ''ประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา''. กรุงเทพฯ:กรมศิลปากร. 2522, หน้า 72-77</ref>
พระเพทราชา และบุตรี(ไม่ระบุชื่อ)
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นพระอนุชาต่างพระมารดาใน[[สมเด็จเจ้าฟ้าไชย]] และยังมีพระอนุชาต่างพระมารดาอีก ได้แก่ [[สมเด็จเจ้าฟ้าอภัยทศ|เจ้าฟ้าอภัยทศ]] (เจ้าฟ้าง่อย<ref>"ด้วยเหตุที่เจ้าฟ้าอภัยทศมีพระวรกายพิการง่อยเปลี้ย คนทั่วไปจึงมักเรียกพระองค์ตามอย่างปากตลาดว่า 'เจ้าฟ้าง่อย'" อ้างใน สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์ (กันยายน 2552). "พงศาวดารกระซิบเรื่องโอรสลับสมเด็จพระนารายณ์". ศิลปวัฒนธรรม 30:11, หน้า 99, 116</ref>), [[สมเด็จเจ้าฟ้าน้อย|เจ้าฟ้าน้อย]], [[พระไตรภูวนาทิตยวงศ์]], พระองค์ทอง และพระอินทราชา