ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมืองพวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phalaphot 23 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
อ้างอิง
บรรทัด 17:
ตั้งแต่สมัยเจ้าเจ็ดเจืองหรือท้าวเจ็ดเจิงได้สร้างบ้านแปงเมืองและสถาปนานครเชียงขวางเป็นราชธานีโดยเรียกชื่อของราชวงศ์ที่ปกครองเมืองพวนว่า '''ราชวงศ์เชียงขวาง''' และได้มีกษัตริย์ในราชวงศ์เชียงขวางปกครองสืบต่อกันมาตามลำดับ ดังต่อไปนี้
 
'''องค์ที่ ๑ เจ้าเจ็ดเจือง''' ปฐมกษัตริย์แห่งเมืองพวน พระราชโอรสในขุนบรมราชธิราช
๑.เจ้าเจ็ดเจือง หลังจากบริหารการปกครองราชอาณาจักรพวนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เจ้าเจ็ดเจืองก็ได้จัดให้มีพิธีอภิเษกสมรส ตนเองกับลูกสาวของท้าวแองกา ผู้เป็นอดีตแม่ทัพของขุนเจือง
ที่ได้สวามิภักดิ์กับเจ้าเจ็ดเจือง และได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพใหญ่ของตน
ต่อไป จากนั้น เจ้าเจ็ดเจืองก็ได้สืบต่อปกครองประชาชน และบ้านเมืองให้
มีความสงบร่มเย็น ทรงมีโอรสหนึ่งองค์ ทรงพระนามว่า เจ้าเจ็ดจอน เมื่อเจ้า
เจ็ดเจืองสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๒.เจ้าเจ็ดจอน''' ก็ได้ขึ้นครองเสวยราชย์ พระราชโอรสในเจ้าเจ็ดจอนมีโอรสหนึ่งองค์ เจือง
ทรงพระนามว่าเจ้าเจ็ดจอด เจ้าเจ็ดจอนหลังจากได้ขึ้นครองราชย์ในระยะ
หนึ่งแล้วก็ได้สวรรคต แล้วผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๓ เจ้าเจ็ดจอด''' พระราชโอรสในเจ้าเจ็ดจอน
๓.เจ้าเจ็ดจอด ก็ได้ขึ้นครองเสวยราชย์แทน แต่ก็บ่ปรากฏว่าได้สร้าง
แปลงอันใดเป็นพิเศษ เพียงแต่สืบต่อให้ประชาชนมีความสงบ และทำมา
หากินด้วยการเฮ็ดนาและเลี้ยงสัตว์ เจ้าเจ็ดจอดมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าเจ็ดจิว เมื่อเจ้าเจ็ดจอดสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๔ เจ้าเจ็ดจิว''' พระราชโอรสในเจ้าเจ็ดจอด ในรัชสมัยของเจ้าเจ็ดจิวนี้ พระองค์ได้ทรงแนะนำให้ประชาชนรู้จักประดิษฐ์ไถด้วยเหล็ก และประดิษฐ์คราดด้วยไม้ โดยนำควายมาไถและคราดนา สมัยนี้ยังคงสืบต่อการเซ่นไหว้บวงสรวงเลี้ยงผีตามจารีต (ฮีตคอง) ของลัทธินับถือผีวิญญาณบรรพบุรุษและศาสนาพราหมณ์เช่นเดิม
๔.เจ้าเจ็ดจิว ก็ได้ขึ้นเสวยราชย์ และได้แนะนำ ประชาชนให้ประดิษฐ์
ไถด้วยเหล็ก และคราดด้วยไม้ โดยเอาควายมาไถและคราดนา หว่านกล้า
ดำ นา เฮ็ดให้การผลิตผลเพิ่มดีขึ้น แต่ก็ยังสืบต่อบวงสรวง เลี้ยงผี ตามฮีต
คองของศาสนาพราหมณ์ต่อไป เจ้าเจ็ดจิวมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่า
เจ้าเจ็ดจัน เมื่อเจ้าเจ็ดจิวสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๕ เจ้าเจ็ดจัน''' พระราชโอรสในเจ้าเจ็ดจิว
๕.เจ้าเจ็ดจัน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และก็ได้สืบต่อปฏิบัติฮีตคองประเพณี
ที่พระบิดาได้สั่งสอนเอาไว้ เจ้าเจ็ดจันมีโอรสองค์หนึ่งทรงพระนามว่าเจ้าเจ็ด
ยอดยอคำ เมื่อเจ้าเจ็ดจันสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๖.เจ้าเจ็ดยอดยอคำ''' ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และก็ได้สืบต่อปฏิบัติฮีตคองพระราชโอรสในเจ้าเจ็ดจัน
ประเพณี ที่พระบิดาได้สั่งสอนเอาไว้ เจ้าเจ็ดยอดยอคำ มีโอรสองค์หนึ่งทรง
พระนามว่า เจ้าเจ็ดยี เมื่อเจ้าเจ็ดยอดยอคำสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๗ เจ้าเจ็ดยี''' หรือพระเจ้ายีหิน พระราชโอรสในเจ้าเจ็ดยอดยอคำ
๗.เจ้าเจ็ดยีก็ได้ขึ้นครองราชย์ โดยถวายพระนามว่า เจ้าพระยีหิน และ
ก็ได้สืบต่อฮีตคองประเพณีของพระบิดาที่ได้สั่งสอนไว้เหมือนกัน เจ้าเจ็ดยี
หรือเจ้าพระยีหินมีโอรสสององค์ทรงพระนามว่า เจ้าพระคือ และเจ้าสั้น เมื่อ
เจ้าเจ็ดยีหรือเจ้าพระยีหินสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรสองค์ที่หนึ่ง คือ
 
'''องค์ที่ ๘ เจ้าพระคือ''' พระราชโอรสในเจ้าเจ็ดยี
๘.เจ้าพระคือ ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และก็ได้สืบต่อปฏิบัติฮีตคองประเพณี
ของพระบิดาที่ได้สั่งสอนไว้เหมือนกัน เจ้าพระคือมีโอรสองค์หนึ่งทรง
พระนามว่าเจ้าคำลุน เมื่อเจ้าพระคือสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๙ เจ้าคำลูน''' พระราชโอรสในเจ้าพระคือ ในรัชกาลเจ้าคำลูนนี้ พระองค์ได้ออกเดินทางไปเยี่ยมเยือน (เยี่ยมยาม) ประชาชนในทั่วราชอาณาจักรพวน ทรงได้สั่งสอนชาวพวนและชาวขมุให้สามัคคีและรักกัน (ฮักแพงกัน) ทรงโปรดฯ ให้ชาวเผ่าขมุตัดต้นไม้ถางป่าเพื่อทำไร่ไถนาที่อยู่อาศัย เมื่อทรงเห็นชาวพวนขุดบ่อเหล็กเพื่อผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ก็ทรงแนะนำให้ประชาชชนใช้เหล็กทำพะเนียงไถเพื่อสะดวกในการไถนา เมื่อทรงเห็นว่าบ่อเหล็กนั้นมีผีรักษาตามความเชื่อเดิมเมื่อขุดเอาเหล็กมาแล้วก็ทรงโปรดฯ ให้ฆ่าหมูและควายเพื่อเลี้ยงผีไปพร้อมกัน เมื่อทรงทราบว่ามีบ่อทองคำอยู่ ณ บ้านนาหมื่น จึงโปรดฯ ให้ชาวเมืองเสาะหาประชาชนเพื่อฆ่าคนเลี้ยงผีปีละ 1 คน ณ บ่อทองคำนั้นแล้วขุดเอาแร่มาปั่นเป็นทองคำ เมื่อได้ทองคำเท่าใดโปรดฯ ให้แบ่งเป็น 1/10 มาให้แก่พระองค์เพื่อสร้างท้องพระคลังของเจ้าชีวิตพวน นอกจากนี้พระองค์ยังทรงเห็นว่า บ่อน้ำเที่ยง หรือที่คนทั่วไปเรียกว่า ท่าพังพาย เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ (บ่อนเข็ดยำ) ก็โปรดฯ นำพาประชาชนให้นำดอกไม้ ธูป เทียน ไปสักการะบูชาในวันสำคัญของชาติ เพื่อความสนุกสนานครื้นเครง (ม่วนชื่น) และเพิ่มเสบียงอาหารให้แก่บ้านเมือง นอกจากนี้พระองค์ยังทรงชักชวนประชาชนไปตัดคอน วังหลัก ในน้ำงิ้ว ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองเชียงขวางเพื่อหาปลาทุกวิธี เมื่อได้ปลามาแล้วก็โปรดฯ ให้นำมารวมกันแล้วแบ่งเป็น 1/10 ของปลาที่จับได้ทั้งหมดนำไปถวายให้แก่เจ้าชีวิต
๙.เจ้าคำลุน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ ได้ออกไปเยี่ยมยามประชาชนในทั่วราช
อาณาจักร และได้สั่งสอนให้ประชาชนชาวพวน และชาวเผ่าขมุ จงได้สามัคคี
ฮักแพงซึ่งกันและกัน โดยปล่อยให้ชนเผ่าขมุฟันต้นไม้, ม้างป่า, เฮ็ดไร่เพื่อ
ปลูกข้าว และเมื่อเห็นชนเผ่าพวนขุดบ่อเหล็กมาผลิตเครื่องมือ ก็ได้แนะนำ
ให้ประชาชนใช้เหล็กเฮ็ดพะเนียงไถเพื่อสะดวกในการไถนา และเมื่อเห็นว่า
บ่อเหล็กนั้นมีผีรักษา เมื่อขุดเอาเหล็กแล้วก็ต้องฆ่าหมูและควายเพื่อเลี้ยงผี
พร้อมกัน เจ้าคำลุนรู้ว่ามีบ่อคำ อยู่บ้านนาหมื่น จึงพากันไปหาประชาชน
เพื่อชักชวนประชาชนฆ่าคนเลี้ยงผี ปีละ 1 คน แล้วขุดเอาแร่มาปั่นเอาคำได้เท่าใดให้แบ่ง 1/10 มาให้แก่ตน เพื่อสร้างพระคลังของเจ้าชีวิต นอกจาก
นั้นก็เห็นว่า บ่อน้ำเที่ยง ที่เอิ้นกันว่า ท่าพังพาย เป็นบ่อนเข็ดยำ จึงพา
ประชาชนเอาดอกไม้และธูปเทียนไปบูชาในวันสำคัญของชาติ อีกหนึ่งเพื่อ
ความม่วนซื่นและเพิ่มเสบียงอาหาร เจ้าคำ ลุนก็ได้ชักชวนประชาชนไปตัด
คอนวังหลัก ในน้ำงิ้วที่อยู่ใต้เมืองเชียงขวาง เพื่อหาเอาปลาด้วยทุกวิธี
เมื่อได้ปลามาแล้วก็เอามารวมกัน แล้วแบ่ง 1/10 ของปลาที่จับได้ ไปถวาย
ให้แก่เจ้าชีวิต เจ้าคำ ลุนมีโอรสองค์หนึ่งทรงพระนามว่าเจ้าคำเพ็ง เมื่อเจ้า
คำลุนสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๐ เจ้าคำเพ็ง''' พระราชโอรสในเจ้าคำลูน
๑๐.เจ้าคำเพ็ง ก็ได้ขึ้นครองเสวยราชย์ และก็ได้สืบต่อภารกิจที่พระบิดา
ได้แนะนำ เอาไว้ เจ้าคำเพ็งมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่า เจ้าคำขอด เมื่อ
เจ้าคำเพ็งสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๑ เจ้าคำขอด''' พระราชโอรสในเจ้าคำเพ็ง
๑๑.เจ้าคำขอด ก็ได้ขึ้นครองเสวยราชย์ พงศาวดารบ่ได้บอกว่าเจ้าคำขอดได้เฮ็ดอันใดพิเศษที่แตกต่างกับสิ่งที่พระบิดาได้กระทำ มา เจ้าคำขอด
มีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำฮอง เมื่อเจ้าคำขอดสวรรคตแล้ว ผู้
เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๒ เจ้าคำฮอง''' พระราชโอรสในเจ้าคำขอด
๑๒.เจ้าคำฮอง ก็ได้ขึ้นครองเสวยราชย์ และก็ได้สืบต่อภารกิจที่พระบิดา
ได้แนะนำและสั่งสอนเอาไว้ เจ้าคำ ฮองมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำแจก เมื่อเจ้าคำฮองสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๓ เจ้าคำแจก''' พระราชโอรสในเจ้าคำฮอง
๑๓.เจ้าคำแจก ก็ได้ขึ้นครองเสวยราชย์ และปฏิบัติสืบต่อภารกิจของพระ
บิดาที่ได้แนะนำ เอาไว้ เจ้าคำแจกมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำฝั้น
เมื่อเจ้าคำแจกสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๔ เจ้าคำฝั้น''' พระราชโอรสในเจ้าคำแจก เจ้าคำฝั้นทรงมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ เจ้าคำเฮือ (เจ้าเฮือ) และเจ้าคำพิน (เจ้าพิน) เมื่อเจ้าคำฝั้นผู้เป็นพระราชบิดาเสด็จสวรรคต เจ้าคำเฮือก็ได้ขึ้นเสวยราชย์แทนเป็นการชั่วคราว เมื่อเจ้าคำพินทรงมีพระชนม์มายุครบรอบอันควรแก่การเสวยราชสมบัติแล้ว เจ้าคำเฮือจึงถวายราชสมบัติให้แก่เจ้าคำพินซึ่งเป็นพระอนุชาครองต่อไป สันนิษฐานว่า อาจมีเหตุมาจากเจ้าคำเฮือมีพระราชมารดาเป็นสามัญชนมิได้มาจากเชื้อสายเจ้า พระราชมารดาของเจ้าคำเฮือนั้นมีฐานันดรศักดิ์หรือพระราชอิสริยยศต่างจากพระราชมารดาของเจ้าคำพิน ซึ่งเป็นพระมเหสีเอกของเจ้าคำฝั้นผู้เป็นพระราชบิดา เจ้าคำเฮือจึงครองเมืองพวนเพียงรักษาราชการแทนพระราชอนุชา เหตุผลอีกประการหนึ่งนั้น เชื่อกันว่าเจ้าคำเฮือทรงมีพระสติไม่สมประกอบ อาจเป็นสาเหตุให้เจ้าคำพินผู้เป็นพระราชอนุชาได้สืบราชสมบัติแทนพระราชบิดาก็เป็นได้
๑๔.เจ้าคำฝั้น ก็ได้ขึ้นครองเสวยราชย์ สืบต่อปฏิบัติภารกิจของพระบิดา
ที่ได้ตามธรรมดา เจ้าคำฝั้นมีโอรสสององค์ทรงพระนามว่า เจ้าคำเฮือและ
เจ้าคำพิน เมื่อเจ้าคำฝั้นสวรรคตแล้ว เจ้าคำเฮือบ่สามารถปฏิบัติขึ้นครอง
ราชย์ได้ เนื่องจากว่าจิตบ่เต็ม ทางเสนาอามาตย์จึงได้มอบราชสมบัติให้แก่
เจ้าคำพิน ผู้เป็นอนุชา
 
'''องค์ที่ ๑๕ เจ้าคำพิน''' พระราชโอรสในเจ้าคำฝั้น
๑๕.เจ้าคำพิน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และก็ได้สืบต่อภารกิจที่พระบิดาได้สั่งสอนเอาไว้ เจ้าคำพินมีโอรสหนึ่งองค์ ทรงพระนามว่าเจ้าคำทน เมื่อเจ้าคำพิน
สวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๖ เจ้าคำทน''' โอรสในเจ้าคำพิน
๑๖.เจ้าคำทน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และสืบต่อภารกิจของพระบิดาตาม
เดิม เจ้าคำทนมีโอรสหนึ่งองค์ ทรงพระนามว่าเจ้าคำติดสาก เมื่อเจ้าคำทน
สวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๗ เจ้าคำติดสาก''' โอรสในเจ้าคำทน
๑๗.เจ้าคำติดสาก ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และสืบต่อปกครองตามนโยบาย
ของพระบิดาได้วางไว้ เจ้าคำติดสากมีโอรสหนึ่งองค์ ทรงพระนามว่า เจ้าคำควน เมื่อเจ้าคำติดสากสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๘ เจ้าคำคอน''' หรือ เจ้าคำควน โอรสในเจ้าคำติดสาก
๑๘.เจ้าคำควน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และสืบต่อปกครองตามนโยบายของ
พระบิดาที่ได้วางไว้ เจ้าคำควนมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำล้วน
เมื่อเจ้าคำควนสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๑๙ เจ้าคำล้วน''' โอรสในเจ้าคำควน
๑๙.เจ้าคำล้วน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และสืบต่อปกครองตามนโยบายของ
พระบิดาที่ได้วางไว้ เจ้าคำล้วนมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำหน้า
เมื่อเจ้าคำล้วนสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๒๐ เจ้าคำหน้า''' โอรสในเจ้าคำล้วน
๒๐.เจ้าคำหน้า ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และสืบต่อปกครองตามนโยบายของ
พระบิดาที่ได้วางไว้ เจ้าคำ หน้ามีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำท้าว
เมื่อเจ้าคำหน้าสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๒๑ เจ้าคำท้าว''' โอรสในเจ้าคำหน้า
๒๑.เจ้าคำท้าว ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และสืบต่อปกครองตามนโยบายของ
พระบิดาที่ได้วางไว้ เจ้าคำท้าวมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำเค้า เมื่อ
เจ้าคำท้าวสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๒๒ เจ้าคำเค้า''' โอรสในเจ้าคำท้าว
๒๒.เจ้าคำเค้า ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และสืบต่อปกครองตามนโยบายของ
พระบิดาที่ได้วางไว้ เจ้าคำเค้ามีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำผง เมื่อ
เจ้าคำเค้าสวรรคตไปแล้ว ในปี ค.ศ. 1289 ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๒๓ เจ้าคำผง''' โอรสในเจ้าคำเค้า เมื่อถึงเจ้าคำผงนั้น ทางการได้ตรวจสอบและทราบปีศักราชได้ชัดเจนแล้ว ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ปี พ.ศ. ๑๘๓๒ แห่งอาณาจักรสุโขทัย และในช่วงรัชกาลของเจ้าคำผงนั้น ได้มีเหตุการณ์ที่ได้บันทึกไว้หลายเหตุการณ์ ในเวลานั้นที่ประเทศอานนาม(เวียดนาม)ได้มีพระโอรสในจักรพรรดิเวียดนาม(ราชวงศ์เล)ชื่อ เลย์ ยุยมัด ที่พยายามแย่งชิงราชสมบัติจากพี่ชายแต่ไม่สำเร็จ จึงได้พาน้องสาวชื่อว่า นางบาโก หนีมาพึ่งบารมีของกษัตริย์พวน และยกน้องสาวของตนให้แก่เจ้าคำผงเพื่อเป็นมเหสี และก็ได้ขอเอากำลังพลของเมืองพวนกลับไปตีเอาราชสมบัติจากพี่ชายของตนที่อานนาม แต่ก็ปราชัยอีกครั้ง จึงกลับคืนมาเชียงขวางแล้วฆ่าตัวตายติดกับข้างคุ้มของเจ้าชีวิต นางบาโกน้องสาวจึงได้ปลูกหอใส่ที่ตรงนั้นเพื่อรำลึกถึงบุญคุณของพี่ชาย แล้วสืบต่อการถวายการสักการะบูชาในกาลต่อมา หลังจากนั้นเจ้าชีวิตแกวก็ได้มาตีเมืองพวน เจ้าคำผงปราชัยต่อแกว จึงยอมเอาเมืองพวนไปขึ้นต่อประเทศแกวอานนาม
๒๓.เจ้าคำผง ก็ได้ขึ้นครองราชย์ในเวลานั้นอยู่ที่ประเทศอานนาม
(เวียดนาม) ได้มีโอรสของพระเจ้าจักรพรรดิอานนามในราชวงศ์เล (Lê)
ชื่อ เล ยุยมัด ที่พยายามยาดขึ้นครองราชสมบัติแทนผู้อ้าย แต่บ่สำเร็จ จึง
ได้พาน้องสาว ชื่อ นางบาโก โตนหนีมาอาศัยอยู่เมืองพวน แล้วยกน้องสาวของตนให้แก่เจ้าคำผงเพื่อเป็นมเหสี แล้วก็ขอเอากำ ลังพวนกลับคืนไปตี
ต่อสู้กับพี่ชายของตน แต่ถูกปราชัย จึงกลับคืนมาเชียงขวาง เอาตนเข้าใน
สางหมื้อแล้วขีดกับไฟใส่ ให้หมื้อไหม้ เพื่อฆ่าตัวตาย ติดข้างคุ้มของเจ้า
ชีวิต นางบาโกผู้เป็นน้องสาวก็ได้ปลูกหอใส่บ่อนนั้นเพื่อจารึกบุญคุณของ
ผู้เป็นอ้าย แล้วก็สืบต่อถวายความสักการบูชา
หลังจากนั้นเจ้าชีวิตแกวก็ได้ยกทัพติดตามมาตีแขวงพวน เฮ็ดให้เจ้า
คำผงต้องปราชัย และยอมเอาแขวงพวนไปขึ้นกับประเทศแกวอานนาม เจ้า
คำผงมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่า เจ้าคำยอยก
เจ้าคำยอยก เมื่อใหญ่ขึ้นมาก็ได้ลักเป็นชู้และเล่นกับเมียน้อยของ
พ่อ เมื่อเจ้าคำผงผู้เป็นพ่อทราบเรื่องราวก็เลยขับไล่เจ้าคำยอยกผู้เป็นลูก
ให้ออกจากเมืองไป เจ้าคำยอยกไปอยู่เมืองบอริคัน โดยอาศัยการช่วยเหลือ
ของประชาชนของเมืองคำม่วน, เมืองจำพอน และเมืองเซโปน เป็นผู้พิทักษ์
รักษาดูแลและอุปการะ ครั้นตกมาถึง ค.ศ. 1349 เจ้าคำยอยกก็ได้กลับคืน
ขึ้นเมือเชียงขวาง พร้อมกับกองทัพใหญ่ของพระเจ้าฟ้างุ่ม ตีเมืองพวนชนะ
เจ้าคำผงผู้เป็นพ่อ
จากนั้นเจ้าคำผงก็ได้ยอมยกราชสมบัติให้แก่เจ้าคำยอยกผู้เป็นลูก
ในปีคริสต์ศักราช 1350 ซึ่งตรงกันกับปีจุลศักราช 712
 
'''องค์ที่ ๒๔ พระเจ้าเขียวคำยอ''' หรือคำยอยก (พ.ศ. ๑๘๙๕-๑๙๔๕) เมื่อเจ้าคำยอยกเติบใหญ่ขึ้นมาได้ลักลอบเล่นชู้ต่อหม่อมของเจ้าคำผงพระราชบิดา เมื่อเจ้าคำผงทราบเรื่องราวจึงได้ขับไล่เจ้าคำยอยกให้ออกจากเมืองพวนไป เจ้าคำยอยกได้ไปอาศัยที่เมืองบอริคัน โดยอาศัยการช่วยเหลือจากประชาชนแขวงคำม่วน,เมืองจำพอนและเมืองเซโปน เป็นผู้พิทักษ์รักษาดูแลและอุปการะ ครั้นตกมาถึง ค.ศ.1349 เจ้าคำยอยกจึงได้กลับคืนเมืองเชียงขวางพร้อมกับกองทัพใหญ่ของพระเจ้าฟ้างุ้ม ตีเมืองพวนชนะผู้เป็นราชบิดา จึงได้ครองราชสมบัติสืบต่อจากราชบิดา เมื่อได้ครองราชย์แล้วจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นเจ้าเขียวคำยอ จากนั้นพระเจ้าฟ้างุ้มได้ขอกำลังไพร่พลของเมืองพวนไปรบกับพญาสุวรรณคำผงที่เมืองเชียงดง เชียงทองและตีต่อไปยึดเอาได้เมืองเชียงใหม่,ลำพูน,ลำปางและที่อื่นๆที่มีคนลาวอาศัยอยู่ อีกหนึ่งในบั้นสุดท้ายเมื่อพระเจ้าฟ้างุ้มเห็นว่าเจ้าเขียวคำยอแห่งเมืองพวน ไม่ได้ส่งกองทัพพวนไปช่วยคราวศึกสงครามครั้งหลังๆ จึงได้ยกกองทัพกลับมาตีเมืองพวน แล้วก็ได้จับเอาธิดาของเจ้าเขียวคำยอสองคนไปกักตัวไว้ที่เมืองเชียงดง เชียงทอง
๒๔.เจ้าคำยอยก เมื่อได้ขึ้นครองราชย์แล้วก็ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น เจ้า
เขียวคำยอ
จากนั้นพระเจ้าฟ้างุ่มก็ได้ขอเอากองทัพเมืองพวน ขึ้นไปรบกับพญา
สุวรรณคำผงอยู่ที่เมืองเชียงดง เชียงทอง และตีต่อไป ยึดได้เมืองเชียงใหม่,
เมืองลำพูน, เมืองลำปาง, เมืองเชียงราย และอื่นๆ ที่มีคนลาวอาศัยอยู่
พระรามาธิบดีอู่ทองที่ปกครองไทยสยามในเวลานั้น มีความย่านกลัว
ต่อเดชานุภาพของพระเจ้าฟ้างุ่ม จึงได้ส่งสาส์นขึ้นมาถวายมีเนื้อในใจความ
ว่า
พวกเราหากเป็นพี่น้องกันมาแต่ขุนบูลมพุ้นดาย เจ้าอยากได้บ้าน
ได้เมือง ให้เอาแต่เขตแดนดงสามเส้า (ดงพญาไฟ) เมือเท้าภูพญาพ่อ และแดนเมืองนครไทเป็นเจ้าท้อน อันหนึ่ง ข้อยก็ส่งน้ำอ้อย น้ำตาล สู่ปี อัน
หนึ่ง ลูกหญิงของข้อย ชื่อ นางแก้วลอดฟ้า ใหญ่มาแล้ว จะส่งให้ปัดเสื่อปู
หมอนแก่เจ้าแล
พร้อมกันนั้น ก็ได้ส่งเครื่องบรรณาการ คือช้างพลาย 51 ตัว, ช้างพัง
50 ตัว, คำ 2 หมื่น, นอแรดแสนหน่วย กับเครื่องบรรณาการอื่นๆ อย่างละ
100 สมเด็จพระเจ้าฟ้างุ่มจึงบ่เสด็จลงไปตีกรุงศรีอยุธยา
แต่พงศาวดารวางแผนการว่าจะเฮ็ดพิธีปฐมกรรม ประหารชีวิตเจ้า
เมืองที่จับได้นั้นทั้งหมด เพื่อเป็นการฉลองชัย แต่เมื่อความซ่าลือเหล่านี้ไป
ถึงพระมหาปาสะมันเถระเจ้า ตนเป็นอาจารย์ พระเถระจึงมาขอบิณฑบาต
ชีวิตของเจ้าเมืองเหล่านั้นไว้ พระองค์เจ้าฟ้างุ่มก็โปรดประทาน และให้ทุก
คนกลับคืนครองบ้านเมืองของใผลาวดังเดิม จากนั้นพระองค์ก็ยกทัพกลับ
คืนมานครเวียงจัน
พระเจ้าฟ้างุ่มถือศาสนาพุทธ นิกายลังกาทวีป หรือหีนยาน จึง
ได้เอาหนังสือสันสกฤต, หนังสือมคธและหนังสือบาลีรวมเข้ากัน แล้วมา
เปลี่ยนแปลงให้เป็นรูปตัวมน, ให้มีตัวสระ, ตัวพยัญชนะ และไม้การันต์ อย่าง
จะแจ้ง แล้วประกาศให้ว่าเป็นตัวหนังสือลาว จึงเฮ็ดให้อิทธิพลของศาสนา
พุทธมหายานค่อยๆ ถอยออกไปจากผืนแผ่นดินลาว
ตั้งแต่นั้นมา ภาษาลาวเดิม ประสมใส่ภาษาสันสกฤตและภาษาบาลี
ก็มีเนื้อในอันฮั่งมี ดังที่พวกเราเห็นอยู่ในไวยากรณ์ลาวในปัจจุบันนี้
ส่วนพญาสุวรรณคำ ผงที่สู้รบบ่ชนะกับกองทัพของเจ้าฟ้างุ่ม ก็มี
ความละอายหลาย จึงได้เอาเชือกผูกคอตายอยู่ในห้องน้ำในปี จ.ศ. 721 ตรง
กับปี ค.ศ. 1359
อีกหนึ่ง ในบั้นสุดท้าย เมื่อเจ้าฟ้างุ่มเห็นว่าเจ้าเขียวคำยอแห่งนคร
พวนบ่ได้ส่งกองทัพพวนไปช่วย จึงได้ยกกองทัพตนไปตีเมืองพวน เฮ็ดให้
เจ้าเขียวคำยอปราชัย แล้วก็จับเอาลูกสาวสองคนของเจ้าเขียวคำยอไปกัก
ไว้ที่เชียงดง เชียงทอง เจ้าเขียวคำยอมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่า เจ้า
ล้านคำกอง เมื่อเจ้าเขียวคำยอสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๒๕ พระเจ้าอิสระเชษฐา''' พระเจ้าล้านคำกอง (พ.ศ. ๑๙๔๕-๑๙๖๕) โอรสในเจ้าเขียวคำยอ ในรัชกาลนี้ได้ทรงตั้งตนอยู่ในทศพิธราชธรรม ทรงมีเดชานุภาพและมีแต่ประชาชนรักใคร่ได้ปรับปรุงกฎหมายขึ้นมาใหม่ เรียกว่า กฎหมายล้านคำกอง เพื่อปกครองบ้านเมืองให้มีความสงบเรียบร้อย ได้นำเอาพุทธศาสนาและพระพุทธรูปทองคำองค์หนึ่งมาจากเมืองหงสาวดีเพื่ออุปฐาก เพื่อให้พุทธศาสนาได้รับการนับถือ พระองค์จึงได้ส่งคนเฉลียวฉลาดไปเรียนฮีตครองในศาสนาและวิธีการก่อสร้างวัดวาอารามจากเมืองอินทปัตนคร(เขมร) และได้ชักชวนพุทธศาสนิกชนสร้างวัดสีพม, วัดเพียวัด, วัดบุนกอง, วัดจอมเพ็ด และวัดธาตุฝุ่นขึ้นไว้ที่เมืองเชียงขวาง ในรัชกาลนี้ได้ชักชวนประชาชนให้เข้ามานับถือพระพุทธศาสนา แต่ก็ยังให้ประชาชนจัดตั้งหอมเหสักข์หลักเมืองขึ้น12หอ โดยการฆ่าควายเลี้ยงตามประเพณีดั้งเดิมที่เจ้าชีวิตเก่าเคยนำพาปฏิบัติกันมา เห็นเป็นดังนี้พระสงฆ์ทั้งหลายและเหล่าเสนาอำมาตย์ราชปุโรหิต ได้พร้อมใจกันราชาภิเษกพระองค์ และถวายพระนามว่า พระเจ้าอิสระเชษฐา แล้วตั้งชื่อเมืองเชียงขวางใหม่ว่า นครเชียงขวางราชธานี ในรัชสมัยนั้นเมืองพวนมีความรุ่งเรืองมาก จนเลื่องลือโด่งดังไปถึงเมืองอื่น จนพระเจ้าสามแสนไท(อุ่นเรือน)แห่งอาณาจักรหลวงพระบางทรงทราบ จึงได้ส่งราชทูตมาขอเป็นมิตรไมตรี พร้อมได้ส่งราชธิดาสององค์ของพระเจ้าเขียวคำยอที่พระเจ้าฟ้างุ้มได้นำเอาไปกักขังไว้นั้น คืนมาให้แก่พระเจ้าอิสระเชษฐา และพร้อมเดียวกันก็ได้ขอนำเอากองทัพพวนไปช่วยตีกับเมืองพม่า
๒๕.เจ้าล้านคำกอง ก็ได้ขึ้นเสวยราชย์ในปี จ.ศ. 734 ตรงกับปี ค.ศ.
1372 เจ้าล้านคำกองได้ตั้งตนอยู่ในทศพิธราชธรรม ได้มีประชาชนฮักแพง
มีเดชานุภาพ จึงได้ปรับปรุงกฎหมายเก่าขึ้นใหม่ เอิ้นว่า กฎหมายล้านคำกอง เพื่อปกครองบ้านเมืองให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
พระองค์ได้นำ เอาพุทธศาสนา และพระพุทธรูปทององค์หนึ่ง มาจาก
เมืองหงสาวดี เพื่ออุปฐาก เพื่อให้พุทธศาสนาได้รับความนับถือ และให้ถูก
ดำเนินไปด้วยดีนั้น พระองค์จึงได้สั่งให้ผู้เฉลียวฉลาดไปเรียนฮีตคองศาสนา
และวิธีการก่อสร้างวัดวาอารามจากเมืองอินทปัตนคร (เขมร) และได้ชักชวน
พุทธศาสนิกชนสร้างวัดสีพม, วัดเพียวัด, วัดบุนกอง, วัดจอมเพ็ด และวัด
ธาตุฝุ่น ขึ้นไว้อยู่ที่เมืองเชียงขวาง และพร้อมเดียวกันก็ได้ป่าวให้ประชาชน
นิยมชมเชื่อพุทธศาสนา และส่งเสริมให้สร้างวัดวาอาราม กุฏิ และหอแจก
ขึ้นทั่วราชอาณาจักรพวน แต่ก็ยังให้ประชาชนจัดตั้งหอมเหสักข์หลักเมือง
ขึ้น 12 หอ โดยการฆ่าควายเลี้ยงตามฮีตคองประเพณีที่เจ้าชีวิตเก่าเคยนำ พา
ปฏิบัติกันมา
เห็นเป็นดังนี้พระสงฆ์ทั้งหลายและเสนาอามาตย์ราชปุโรหิต จึงได้
พร้อมกันราชาภิเษกพระองค์ และถวายพระนามว่า พระเจ้าอิดสะหระเสดถา
แล้วยกชื่อเมืองเชียงขวางว่า นครเชียงขวางราชธานี
ในสมัยนั้น เมืองพวนมีความเจริญรุ่งเรืองหลาย จนลือชาปรากฏโด่ง
ดังไปถึงประเทศอื่น พระเจ้าสามแสนไท หรืออุ่นเรือน แห่งอาณาจักรหลวง
พระบางทรงทราบ, จึงได้ส่งราชทูตมาขอเป็นมิตรไมตรี พร้อมได้ส่งราชธิดา
สององค์ของพระเจ้าเขียวคำยอ ที่พระเจ้าฟ้างุ่มได้เอาไปกักไว้นั้น คืนมาให้
แก่พระเจ้าอิดสะหระเสดถา และพร้อมเดียวกันก็ยังได้ขอเอากองทัพพวน
ไปช่วยปราบข้าศึกพม่า
พระเจ้าอิดสะหระเสดถามีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่า เจ้าคำอุ่น
เมือง เมื่อพระเจ้าอิดสะหระเสดถาสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๒๖ พระเจ้าผ้าขาว''' หรือเจ้าคำอุ่นเมือง (พ.ศ. ๑๙๖๕-ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าล้านคำกอง ทรงถูกถวายนามว่า พระเจ้าผ้าขาวเนื่องจากว่าพระองค์ใจบุญทรงแต่ผ้าขาว ฟังแต่ธรรมจำแต่ศีลกินทานอยู่ไม่ขาด พระองค์มีราชธิดานางหนึ่งนามว่า เจ้าหญิงคำอ่อน และมีโอรสอีกองค์หนึ่งนามว่า เจ้าคำด่อน เมื่อพระเจ้าผ้าขาวสวรรคตแล้ว ราชบุตรทั้งสองยังทรงพระเยาว์ไม่สามารถขึ้นครองราชย์ได้ ทำให้เมืองพวนไม่มีกษัตริย์สืบแทน จึงมีพญามหาเสนาอำมาตย์ว่าราชการแทน จนเจ้าหญิงคำอ่อนทรงเจริญวัยจึงได้สืบต่อขึ้นปกครองแทนพระราชบิดา
๒๖.เจ้าคำอุ่นเมือง ก็ได้ขึ้นครองราชย์ในปี จ.ศ. 748 ตรงกับปี ค.ศ.
1386 และได้ถูกถวายพระนามจากประชาชนว่า พระเจ้าผ้าขาว เนื่องจากว่าพระองค์ใจบุญ ทรงแต่ผ้าขาว ฟังแต่ธรรมจำ แต่ศีล กินทานอยู่บ่ขาด
พระเจ้าผ้าขาวมีราชธิดาองค์หนึ่งทรงพระนามว่า เจ้าคำอ่อน หรือ
เจ้าหญิงผมดำ และมีโอรสอีกองค์หนึ่งทรงพระนามว่า เจ้าคำด่อน เมื่อ
พระเจ้าผ้าขาวสวรรคตแล้ว ทั้งเจ้าคำอ่อนและเจ้าคำด่อนก็ยังเยาว์ บ่สามารถ
ขึ้นครองราชย์ได้ เฮ็ดให้เมืองพวนบ่มีกษัตริย์สืบแทน จึงแม่นพญาแสนมหา
สะละบาลี เป็นผู้ปกครองเมืองแทน
จนเจ้าคำอ่อน หรือเจ้าหญิงผมดำ มีอายุถึงเกษียณ จึงถูกอัญเชิญ
โดยพญาแสนมหาสะละบาลี และสมณพราหมาจารย์ ให้ขึ้นครองราชสมบัติ
 
'''องค์ที่ ๒๗ ๒๗.พระมหาเทพีเจ้าหญิงคำอ่อน''' หรือเจ้าหญิงพระนางผมดำ ก็ได้ขึ้นครองราชย์(พ.ศ.ไม่แน่ชัด-๒๑๐๓) ราชธิดาในเจ้าคำอ่อน หรือ อุ่นเมือง
เจ้าหญิงผมดำ บ่ปรากฏว่ามีโอรสหรือธิดา และเมื่อสวรรคตแล้ว ก็แม่นพระ
อนุชา คือ
 
'''องค์ที่ ๒๘ ๒๘.เจ้าคำด่อน''' ก็ได้ขึ้นครองราชย์(พ.ศ. พงศาวดารบ่ได้บ่งบอกว่า๒๑๐๓-๒๑๙๓) โอรสในเจ้าคำด่อนอุ่นเมือง
ได้เฮ็ดอันใดแด่เป็นพิเศษ เจ้าคำด่อนมีราชโอรสสององค์ ทรงพระนามว่า
เจ้าคำสั้น และเจ้าคำทง เมื่อเจ้าคำด่อนสวรรคตไป โอรสองค์ที่ 1 คือ
 
'''องค์ที่ ๒๙ เจ้าคำสั้น''' (พ.ศ. ๒๑๙๓-ไม่แน่ชัด) เจ้าคำสั้นเป็นราชโอรสในเจ้าคำด่อน เจ้าคำสั้นมีโอรสองค์หนึ่งชื่อ เจ้าคำกิวง และมีธิดาองค์หนึ่งนามว่า เจ้าหญิงแก่นจัน ในขณะนั้นพระเจ้าสุริยะวงศาซึ่งปกครองนครหลวงล้านช้างเวียงจันทน์ อยากได้เจ้าหญิงแก่นจันไปเป็นมเหสี แต่เจ้าคำสั้นไม่ยอมยกให้ พระเจ้าสุริยะวงศาจึงยกทัพไปตีเมืองพวนแต่เจ้าคำสั้นไม่สามารถสู้ศึกจากล้านช้างได้ พระเจ้าสุริยะวงศาจึงได้จับตัวเจ้าหญิงแก่นจันไป และกองทัพล้านช้างเวียงจันทน์ได้กวาดต้อนเอาครอบครัวชาวพวนหลายพันคนไปไว้ที่เวียงจันทน์ ดังนั้นจึงมีชาวพวนจำนวนมากอาศัยอยู่ในเวียงจันทน์ ซึ่งเรึยกกันว่า ชาวพวนเดิม ส่วนเจ้าคำสั้นหลังพ่ายทัพ ก็ได้มุ่งหน้าสร้างบ้านแปงเฮือนให้เจริญรุ่งเรือง จนเมืองพวนสามารถเข้มแข็งได้ดั่งเดิม
๒๙.เจ้าคำสั้น ก็ได้ขึ้นครองราชย์ เจ้าคำสั้นมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนาม
ว่า เจ้าคำ กิวง และอีกธิดาองค์หนึ่งทรงพระนามว่าเจ้าหญิงแก่นจัน
ในเวลานั้น พระเจ้าสุริยะวงสา เจ้าชีวิตแห่งนครล้านช้างเวียงจัน
อยากได้เจ้าหญิงแก่นจันธิดาของเจ้าคำสั้นไปเป็นมเหสี แต่เจ้าคำสั้นบ่ยอม
ให้ พระเจ้าสุริยะวงสาจึงได้ยกกองทัพไปตีเมืองพวน เจ้าคำสั้นก็ได้เกณฑ์
ทหารออกไปสู้รบสกัดกั้นจนสุดความสามารถ แต่สู้กองทัพล้านช้างบ่ไหว
พระเจ้าสุริยะวงสาจึงได้จับเอาเจ้าหญิงแก่นจันไปได้ และได้สร้างความ
วุ่นวายม้างเพเมืองพวน และกวาดเอาครัวคนพวนหลายพันครอบครัวลง
ไปอยู่เวียงจัน
ฉะนั้น จึงมีคนพวนหลวงหลายอยู่ที่เวียงจัน ซึ่งต่อมาจึงเอิ้นกันว่า
พวนเดิม
ส่วนเจ้าคำสั้นที่เสียชัยและเสียธิดา ก็บ่มีความเสียอกเสียใจอันใด และยังสืบต่อนำพาประชาพลเมืองสร้างสาบ้านแปลงเมืองให้รุ่งเรืองขึ้น
ตื่มอีก เหมือนดั่งในสมัยของเจ้าชีวิตเจ้าล้านคำกอง เมื่อเจ้าคำสั้นสวรรคต
แล้ว พระอนุชาคือ
 
'''องค์ที่ ๓๐ เจ้าคำทง''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าคำด่อนและเป็นอนุชาในเจ้าคำสั้น
๓๐.เจ้าคำทง ก็ได้ขึ้นครองราชย์ แต่พงศาวดารบ่ได้กล่าวไว้ว่า เจ้าคำทง
ได้เฮ็ดอันใดแด่ และมีโอรสหรือธิดาจักองค์ เมื่อเจ้าคำทงสวรรคตแล้ว โอรส
ของเจ้าคำสั้น ชื่อ
 
'''องค์ที่ ๓๑ เจ้าคำภีรวงศ์''' หรือ เจ้าคำกิวง (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าคำสั้น
๓๑.เจ้าคำกิวง ก็ได้ขึ้นครองราชย์ แต่พงศาวดารก็บ่ได้ระบุไว้ว่าเจ้าคำกิวงได้เฮ็ดอันใดแด่ เจ้าคำกิวงมีโอรสสององค์ ทรงพระนามว่าเจ้าคำล้อน
และเจ้าคำเคือง เมื่อเจ้าคำกิวงสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๓๒ เจ้าคำล้อน''' (พ.ศ. ๒๒๓๐-ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าคำกิวง เจ้าคำล้อนมีโอรสองค์หนึ่งนามว่า เจ้าคำพุทธา เมื่อเจ้าคำล้อนสวรรคตแล้วเจ้าคำพุทธายังทรงเยาว์วัยไม่สามารถสืบต่อราชสมบัติได้ เหล่าเสนาอำมาตย์จึงได้แต่งตั้ง เจ้าคำเคืองผู้เป็นอนุชาของเจ้าคำล้อนขึ้นเป็นมหาอุปราชว่าราชการแทนจนสวรรคต
๓๒.เจ้าคำล้อน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ แต่พงศาวดารก็บ่ได้ระบุไว้ว่าพระองค์
ได้เฮ็ดอันใดไว้แด่เป็นพิเศษ เจ้าคำล้อนมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้า
คำพุดทา เมื่อเจ้าคำ ล้อนสวรรคตแล้ว เจ้าคำพุดทายังบ่ทันถึงเกษียณอายุ
พวกเสนาอามาตย์จึงแต่งตั้งเจ้าคำ เคืองผู้เป็นอนุชาของเจ้าคำล้อน ให้เป็น
มหาอุปราชว่าการแทนตลอดชีวิต เมื่อเจ้าคำเคืองสวรรคตแล้ว โอรสของ
เจ้าคำล้อน คือ
 
'''องค์ที่ ๓๓ เจ้าคำพุทธา''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าคำล้อน
๓๓.เจ้าคำพุดทา ก็ได้ขึ้นครองราชย์ พงศาวดารบ่ได้ระบุไว้ว่าเจ้าคำพุด
ทาได้สร้างอันใดพิเศษ นอกจากปฏิบัติตามแนวทางของพระบิดาและของ
อาว10เท่านั้น เจ้าคำพุดทามีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าคำสัดทา เมื่อ
เจ้าคำพุดทาสวรรคตแล้ว ผู้เป็นโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๓๔ เจ้าคำศรัทธา''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าคำพุทธา เจ้าคำศรัทธาได้อภิเษกสมรสกับเจ้านางแว่นแก้วสามผิว ผู้เป็นราชธิดาในพระเจ้าอินทะโสมเจ้ามหาชีวิตนครล้านช้างหลวงพระบาง ตั้งแต่นั้นมาทั้งสองอาณาจักรจึงผูกมิตรไมตรีที่ดีต่อกันอย่างเหนียวแน่น ในรัชกาลนี้ได้ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและสร้างบ้านแปลงเมืองให้เจริญรุ่งเรืองตลอดรัชกาล เจ้าคำศรัทธามีโอรสสององค์คือ เจ้าบุนลังไท และเจ้าบุนลอด
๓๔.เจ้าคำสัดทา ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิง
แว่นแก้วสามผิว ผู้เป็นราชธิดาของพระเจ้าอินทะโสม ซึ่งเป็นเจ้านครล้าน
ช้างหลวงพระบาง แล้วอาณาจักรพวนและอาณาจักรหลวงพระบางก็ได้ผูก
มิตรไมตรีซึ่งกันและกันอย่างเหนียวแน่น อาณาจักรหลวงพระบางได้ขอร้อง
ให้อาณาจักรพวนส่งทหารไปช่วย เพื่อสู้รบกับพม่าและเวียงจัน
พระองค์ได้บูรณะสร้างบ้านแปลงเมือง และส่งเสริมศาสนาให้เจริญ
รุ่งเรือง จนมีชื่อเสียงโด่งดังไปถึงประเทศใกล้เคียง เจ้าคำสัดทามีโอรสสอง
องค์ทรงพระนามว่าเจ้าบุนลังไท และเจ้าบุนลอด เมื่อเจ้าคำสัดทาสวรรคตแล้ว โอรสองค์ที่หนึ่ง คือ
 
'''องค์ที่ ๓๕ เจ้าบุนลังไท''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าคำศรัทธา เจ้าบุนลังไทมีโอรสองค์หนึ่งนามว่าเจ้าบุนคง เมื่อเจ้าบุนลังไทสวรรคตแล้ว เจ้าบุนคงยังทรงพระเยาว์ เหล่าเสนาอำมาตย์จึงแต่งตั้งเจ้าบุนลอดพระอนุชาในเจ้าบุนลังไทขึ้นปกครองแทน
๓๕.เจ้าบุนลังไท ก็ได้ขึ้นครองราชย์ แต่บ่ปรากฏว่าได้สร้างแปลงอันใด
เป็นพิเศษ นอกจากแต่ปฏิบัติตามฮีตคองที่พระบิดาได้สร้างเอาไว้ เจ้าบุน
ลังไทมีโอรสหนึ่งองค์ ทรงพระนามว่าเจ้าบุนคง เมื่อเจ้าบุนลังไทสวรรคตแล้ว
เจ้าบุนคง องค์เป็นโอรส ยังบ่ทันถึงเกษียณอายุ เสนาอามาตย์จึงอัญเชิญ
องค์พระอนุชา คือ
 
'''องค์ที่ ๓๖ เจ้าบุญลอด''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าคำศรัทธา
๓๖.เจ้าบุนลอด ให้ขึ้นครองราชย์ พงศาวดารบ่ได้กล่าวไว้ว่าในราชการ
ของเจ้าบุนลอดนั้นพระองค์ได้เฮ็ดอันใดพิเศษแด่ นอกจากนำ แนวทางของ
พระบิดา เจ้าบุนลอดบ่ปรากฏว่ามีโอรสหรือธิดา เมื่อเจ้าบุนลอดสวรรคต
แล้ว โอรสของเจ้าบุนลังไท หรือหลานชายของเจ้าบุนลอด คือ
 
'''องค์ที่ ๓๗ เจ้าบุญคง''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าบุนลังไท เมื่อเจ้าบุนคงสวรรคตแล้ว มีโอรสองค์หนึ่งนามว่าเจ้าบุนจันทร์ซึ่งยังทรงพระเยาว์ พญาคำเทโวซึ่งเป็นเสนาอำมาตย์ผู้ใหญ่ในขณะนั้นได้ว่าราชการแทนจนเจ้าบุญจันทร์บรรลุนิติภาวะ
๓๗.เจ้าบุนคง ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และก็สืบต่อปกครองตามแนวทางของ
พระบิดาและของอาว เจ้าบุนคงมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่าเจ้าบุนจัน
เมื่อเจ้าบุนคงสวรรคตแล้ว เจ้าบุนจันผู้เป็นโอรสยังบ่ทันถึงเกษียณอายุ พญา
คำเทโว ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ในเมืองพวนในเวลานั้น จึงได้ว่าการแทน เมื่ออายุถึง
เกษียณแล้ว โอรสของเจ้าบุนคง คือ
 
'''องค์ที่ ๓๘ เจ้าบุญจันทร์''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าบุญคง
๓๘.เจ้าบุนจัน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และก็ได้สืบต่อนโยบายของพญาคำเท
โว ที่สืบทอดมาจากเจ้าบุนคง องค์พระบิดา เจ้าบุนจันมีโอรสสององค์ทรง
พระนามว่าเจ้าคำ อุ่นเมือง และเจ้าคำเหม้น เมื่อเจ้าบุนจันสวรรคตไปแล้ว
โอรสองค์ที่หนึ่ง คือ
 
'''องค์ที่ ๓๙ เจ้าคำอุ่นเมือง''' (ไม่แน่ชัด) โอรสในเจ้าบุญจันทร์ ในรัชกาลนี้ได้ทรงแต่งตั้งพระอนุชาคือ เจ้าคำเหม้นขึ้นเป็นมหาอุปราช(รองเจ้าชีวิต) ทั้งสองพี่น้องได้ทรงปกครองเมืองพวนให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข เจ้าคำอุ่นเมืองมีโอรสสามองค์คือ เจ้า​องค์หล่อ,เจ้า​องค์สีพรม และเจ้าองค์บุญ ส่วนเจ้าคำเหม้นนั้นมีโอรสหนึ่งองค์นามว่า เจ้าหน่อเมืองหรือเจ้าองค์โตน
๓๙.เจ้าคำอุ่นเมือง ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และได้แต่งตั้งพระอนุชา คือ เจ้าคำ
เหม้น ให้เป็นมหาอุปราช (รองเจ้าชีวิต) ทั้งสองอ้ายน้องได้พร้อมกันปกครอง
บ้านเมืองตามนโยบายของพระบิดาที่ได้วางเอาไว้
เจ้าคำอุ่นเมืองมีโอรส 3 องค์ ทรงพระนามว่า เจ้าองค์หล่อ (หรือ เจ้า
องค์ทง), เจ้าองค์สีพม และเจ้าองค์บุน ส่วนเจ้าคำเหม้นนั้นมีโอรสหนึ่งองค์
ทรงพระนามว่า เจ้าหน่อเมือง (หรือเจ้าองค์โตน) เมื่อเจ้าคำอุ่นเมืองสวรรคต
แล้ว โอรสองค์ที่หนึ่ง คือ
 
'''องค์ที่ ๔๐ เจ้าองค์หล่อ''' หรือเจ้าองค์ทง (ไม่แน่ชัด ในหนังสือประวัติศาสตร์เมืองพวนของเจ้าคำหลวง กล่าวไว้ว่า จ.ศ.๑๑๑๓ หรือ ค.ศ.1751) โอรสในเจ้าคำอุ่นเมือง เจ้าองค์หล่อได้แต่งตั้งเจ้าองค์บุญพระอนุชาขึ้นเป็นมหาอุปราช ในรัชกาลนี้ได้เกิดศึกสงครามขึ้นระหว่างกองทัพของเมืองพวนนำโดยเจ้าองค์หล่อ และกองทัพของนครหลวงล้านช้างเวียงจันทน์ซึ่งนำโดยเจ้าไชยองค์เว้ เจ้าองค์หล่อได้ปราชัยต่อเจ้าไชยองค์เว้ จึงได้มอบราชสมบัติให้แก่เจ้าองค์บุญผู้เป็นอนุชา แล้วให้อาณาจักรพวนขึ้นต่อล้านช้างเวียงจันทน์ เจ้าองค์หล่อได้เสด็จหนีไปซ่อนตัวอยู่ที่หัวพันห้าทั้งหกและได้เกลี้ยกล่อมเอาราษฎรได้เยอะพอสมควร จึงได้นำพาไพร่พลยกทัพไปเพื่อจะตีกองทัพของเจ้าแก้วที่เวียงจันทน์ แต่พอถึงเชึยงขวางเมืองพวนเจ้าองค์บุญได้ออกมาสู้รบกับเจ้าองค์หล่อ เพื่อต้านกองทัพของเจ้าองค์หล่อไม่ให้ไปตีเวียงจันทน์ แต่ทัพเจ้าองค์บุญพ่ายต่อเจ้าองค์หล่อ จึงยอมแพ้แต่โดยดีแล้วมอบคืนราชสมบัติต่อเจ้าองค์หล่อ และยอมส่งส่วยต่อเวียงจันทน์แต่โดยดี เพื่อให้ราษฎรอยู่ร่วมกันโดยสามัคคี เจ้าองค์หล่อจึงได้สั่งราษฎรชาวเมืองสูยย้ายมาอยู่ฟากน้ำงึมทั้งหมด(ใกล้กับคังหมาแล่น) ในเวลานั้นแขวงหัวพันได้ขึ้นแก่เมืองพวน ครั้นถึงปี จ.ศ.๑๑๑๘ หรือปี ค.ศ.1756 เพี้ยแสนคิดกบฏต่อเมืองพวน เจ้าองค์หล่อจึงได้ให้นำตัวไปประหารชีวิตสำเร็จโทษพร้อมลูกชาย เจ้าองค์หล่อมีโอรสสององค์คือ เจ้าชมภู และเจ้าเชียง ซึ่งหลังจากเจ้าองค์หล่อสวรรคต ทั้งสองพระองค์ทรงอยู่ในวัยเยาว์ เหล่าเสนาอำมาตย์จึงถวายราชสมบัติให้แด่เจ้าองค์สีพรมอนุชาในเจ้าองค์หล่อ เสวยราชย์ปกครองเมืองพวน
๔๐.เจ้าองค์หล่อ (หรือเจ้าองค์ทง) ก็ได้ขึ้นครองราชย์ในปี จ.ศ. 1113 ตรงกับปี ค.ศ. 1751 และได้แต่งตั้งให้พระอนุชา คือ เจ้าองค์บุน เป็นมหา
อุปราช (หรือรองเจ้าชีวิต) ในเวลานั้น ได้มีการสู้รบกันเกิดขึ้นระหว่างกองทัพ
ของอาณาจักรพวน นำ พาโดยเจ้าองค์หล่อ และกองทัพของอาณาจักรล้าน
ช้างเวียงจัน นำพาโดยเจ้าไชองค์เว้
เจ้าองค์หล่อได้เสียชัยให้แก่เจ้าไชองค์เว้ จึงได้มอบราชสมบัติให้แก่
เจ้าองค์บุน ผู้เป็นอนุชา และเป็นมหาอุปราช แล้วให้ขึ้นกับอาณาจักรล้าน
ช้างเวียงจัน แล้วพระองค์ก็ได้เสด็จหนีไปอยู่หัวพันห้าทั้งหก เกลี้ยกล่อม
เอาราษฎรได้หลายสมควรแล้วก็ยกพลลงมาเพื่อจะไปตีกองทัพเจ้าแก้วที่
เวียงจัน แต่พอมาถึงเชียงขวาง เจ้าองค์บุนได้ออกไปสู้รบกับเจ้าองค์หล่อ
เพราะบ่ยอมให้เจ้าองค์หล่อผ่านเชียงขวางเพื่อลงไปตีเวียงจัน แต่เจ้าองค์
บุนตีสู้เจ้าองค์หล่อบ่ไหว จึงยอมโดยดี แล้วมอบราชสมบัติถวายคืนแด่เจ้า
องค์หล่อ และให้สืบต่อเสียส่วยให้แก่เวียงจันต่อไป
เพื่อให้ราษฎรร่วมกันสร้างสาบ้านเมืองด้วยความสามัคคี พระเจ้า
องค์หล่อจึงได้สั่งให้ครอบครัวทั้งหลายที่อยู่ในเมืองสูย ได้ย้ายเข้ามาอยู่ฟาก
น้ำงึ่ม (ใกล้กับคังมาแลน หรือคังหมาแล่น) ในเวลานั้น แขวง
หัวพันได้ขึ้นกับเมืองพวน
ครั้นถึงปีรวายเจี้ย12 จ.ศ. 1118 ตรงกับปี ค.ศ. 1756 เพียแสน คิด
ขบถต่อเมืองพวน เจ้าองค์หล่อจึงได้ทรงมีพระราชอาชญาให้เอาตัวไปสำเร็จ
โทษประหารชีวิตพร้อมกับลูกชาย เจ้าองค์หล่อมีพระราชโอรสสององค์ทรง
พระนามว่า เจ้าชมพู และเจ้าเชียง เมื่อเจ้าองค์หล่อสวรรคตแล้ว ราชโอรส
ทั้งสองยังบ่ทันถึงเกษียณอายุ เสนาอามาตย์จึงยกพระอนุชา คือ
 
'''องค์ที่ ๔๑ เจ้าองค์สีพรม''' (พ.ศ. ๒๓๒๒-๒๓๒๔) โอรสในเจ้าคำอุ่นเมือง ในรัชกาลนี้กองทัพสยามที่บัญชาการโดยพระยาจักรี(ทองด้วง)เป็นแม่ทัพบก และพระยาสุรสีห์(บุญมา)เป็นแม่ทัพเรือของพระเจ้ากรุงธนบุรี(พระยาตากสิน)ได้เกณฑ์ทัพมาตีเวียงจันทน์แตก แล้วจึงเลยขึ้นมาตีเมืองเชียงขวางเมืองพวนแตก พร้อมทั้งเผาทำลายบ้านเมืองกวาดต้อนผู้คนและข้าวของ ทำให้เมืองพวนเสียหายย่อยยับ
๔๑.เจ้าองค์สีพม ให้ขึ้นครองราชย์ ในปีนั้นกองทัพไทยที่บัญชาการโดย
พญาจักรี (ทองด้วง) เป็นแม่ทัพบก และพญาสุรสีห์ (บุญมา) เป็นแม่ทัพเรือ
ของพระเจ้ากรุงธนบุรี พระบรมธรรมิกราชาธิราช ได้มาตีเวียงจันแตกแล้ว ก็
เลยขึ้นมาตีเชียงขวางแตกอีก ทั้งจูดบ้านเผาเมือง, เข่นฆ่าประชาชน ปล้น
สะดมสิ่งของเสียหายจนเกลี้ยง
เจ้าองค์สีพม บ่ปรากฏว่ามีโอรสหรือธิดา เมื่อสวรรคตแล้วในปี จ.ศ. 1143 ตรงกับปี ค.ศ. 1781 ราชโอรสของเจ้าคำเหม้น คือ
 
'''องค์ที่ ๔๒ เจ้าหน่อเมือง''' หรือเจ้าองค์โตน (พ.ศ. ๒๓๒๔-๒๓๒๕) โอรสในเจ้าคำเหม้น เป็นนัดดาในเจ้าคำอุ่นเมือง ในรัชกาลนี้หบังจากครองราชย์ได้ไม่นาน อยู่ๆพระองค์ทรงเกิดมีสติวิปลาสและได้หนีเข้าป่าไป เหล่าเสนาอำมาตย์จึงได้แต่งตั้งให้เจ้าชมภูขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อไป
๔๒.เจ้าหน่อเมือง (หรือเจ้าองค์โตน) ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และในปีเดียวกัน
นั้นก็เลยเป็นบ้า จึงได้โตนเข้าป่าไปลี้อยู่ทางเมืองโม้ ใกล้กับชายแดนแกว-
อานนาม แล้วก็สูญหายไปเลย ทางเมืองพวนจึงถวายพระนามว่า พระเจ้า
องค์โตน
เจ้าหน่อเมืองมีโอรสสององค์ทรงพระนามว่า เจ้ากาง และเจ้าหล้า
(หรือเจ้าโพทิสาน) เมื่อเจ้าหน่อเมืองหรือเจ้าองค์โตน ได้โตนหนีเข้าป่าไป
แล้ว เสนาอามาตย์จึงได้พร้อมกันแต่งตั้งโอรสของเจ้าองค์หล่อ คือ
 
'''องค์ที่ ๔๓ เจ้าชมภู''' (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๔๔) โอรสในเจ้าองค์หล่อ ในปี จ.ศ.๑๑๔๔ หรือ ค.ศ.1782 คนแกวอานนามชื่อ กวานฮับ ได้ก่อกบฎต่อเจ้าฟ้าแกวชื่อ เยีย ลอง หรือเหงียนอัน และได้ไปขอกองทัพต่อเจ้าเมืองหลวงพระบางผ่านไปทางเชียงขวาง แต่ถูกสกัดกั้นตีแตกโดยกองทัพพวนที่อยู่เมืองเคิง(โดนภูหม้าย) ในปี จ.ศ.๑๑๔๘ หรือปี ค.ศ.1784 เจ้าชมภูได้สร้างหอคำขึ้นใหม่ทีเชียงขวาง และคิดอยากเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อล้านช้างเวียงจันทน์ เจ้าองค์ลอง ผู้ปกครองเวียงจันทน์ก็ได้นำทัพโดย เจ้าแก้ว และเจ้านันทะเสน ได้เอาทหาร๓,๐๐๐คน ขึ้นไปตีเมืองเชียงขวาง ทัพของเจ้าชมภูเมืองพวนสู้ต่อทัพของเวียงจันทน์ไม่ไหว เจ้าชมภูจึงได้หลบไปซ่อนตัวอยู่ที่เมืองฮังในแขวงหัวพัน หลังจากได้ตีเชียงขวางแตกแล้ว กองทะพเวียงจันทน์จึงได้ไปตีเมืองหลวงพระบาง ซึ่งมีเจ้าอนุรุทธปกครองในขณะนั้นแตกอีก ในขณะนั้นที่เมืองเชียงขวาง เจ้ากาง และเจ้าหล้า(เจ้าโพธิสาร) ซึ่งเป็นโอรสในเจ้าหน่อเมือง ได้เกิดแย่งชิงราชสมบัติกันเอง เจ้าหล้าได้แต่งให้นายใช้ไปหาเจ้านันทะเสนแห่งเวียงจันทน์ เจ้านันทะเสนจึงให้เจ้าแก้วยกทัพมาตีเจ้ากางที่เชียงขวางจนแตก จากนั้นเจ้าแก้วก็ได้ขึ้นไปเมืองสูย ตั้งทัพอยู่ที่ภูทงบ้านแลอยู่ได้หนึ่งเดือน จึงยกทัพขึ้นไปแขวงหัวพันเพื่อตามจับตัวเจ้าชมภู พร้อมด้วยตัวเพียเมืองกัดและเพียเมืองเส็ง หลังจับตัวได้จึงคุมตัวไปที่เวียงจันทน์ ครั้นไปถึงน้ำงึม ท่าข้าม ช้างสมดี เจ้าแก้วก็ได้ประหารชีวิตเพียเมืองกัดและเพียเมืองเส็งทิ้ง ส่วนเจ้าชมภูซึ่งเป็นกษัตริย์พวน เจ้าแก้วจึงต้องทำพิธีตามโบราณราชประเพณีของการประหารชีวิตกษัตริย์ หลังจากเริ่มทำพิธีก่อนจะลงมือประหารเจ้าชมภู ทันใดนั้นฟ้าได้มืดครึ้มลงทันที มีฝนตกฟ้าคะนอง เกิดฟ้าผ่าลงมาที่เพชรฆาตตายคาที่และดาบที่จะใช้ประหารได้หักเป็นท่อน เห็นเป็นดังนั้นเจ้าแก้วได้สั่งเลิกพิธีประหาร และได้สั่งให้นำตัวเจ้าชมภูไปคุมขังที่เวียงจันทน์เป็นเวลาสามปี หลังเหตุการณ์ดังกล่าวนี้ในปี จ.ศ.๑๑๕๓ หรือ ค.ศ.1791 เจ้าเชียงอนุชาในเจ้าชมภู ได้แต่งหนังสือไปหาเจ้าฟ้าแกว(พระเจ้าจักรพรรดิเยียลอง)เพื่อยกทัพไปช่วยตีเวียงจันทน์จนแตก เจ้าชมภูและเจ้าเชียงจึงรีบนำพาไพร่พลชาวพวนหนีไปเชียงขวาง แล้วพาครอบครัวหนีไปหลบซ่อนตัวที่เมืองแถง(แถน)ในปีเดียวกันนั้น
๔๓.เจ้าชมพู ให้ขึ้นครองราชย์ ในปี จ.ศ. 1144 ตรงกับปี ค.ศ. 1782 ใน
ปีเดียวกันนั้น คนแกวอานนามชื่อ กวานฮับ ได้กบฏต่อเจ้าฟ้าแกว ชื่อ เยีย
ลอง หรือเหงียนอัน และได้ไปขอกองทัพนำ เจ้าเมืองหลวงพระบาง ผ่านไป
ทางเชียงขวาง แต่ถูกสกัดกั้นตีแตก โดยกองทัพพวนอยู่ที่เมืองเคิง (โดน15
ภูหม้าย) จึงพากันทยอยกลับคืนไปหลวงพระบาง
ในปี จ.ศ. 1146 ตรงกับปี ค.ศ. 1784 เจ้าชมพูได้สร้างหอคำ ขึ้นที่เชียง
ขวาง ให้สมเป็นบ่อนอยู่ของเจ้าชีวิต แล้วคิดบ่อยากขึ้นกับเวียงจัน
เจ้าองค์ลอง เจ้าเมืองเวียงจันก็เกณฑ์ทหารสามพัน (3,000) คน
นำ พาโดยเจ้าแก้ว และเจ้านันทะเสน ให้ขึ้นไปตีเชียงขวาง ในปี จ.ศ. 1147
ตรงกับปี ค.ศ. 1785 เจ้าชมพูก็เกณฑ์ทหารไปสกัดกั้น แต่สู้บ่ไหว จึงได้
แตกกลับคืนเชียงขวาง กองทัพเวียงจันก็ได้ไล่ติดตามอย่างใกล้ชิด และได้
ลู่เข้าไปในเมืองเชียงขวาง ในปีรวายสะง้า จ.ศ. 1148 ตรงกับปี ค.ศ. 1786
เจ้าชมพูได้เอาตัวหลบหนีไปอยู่เมืองฮัง ในแขวงหัวพัน
หลังจากได้ตีเชียงขวางแตกแล้ว ในปี จ.ศ. 1150 ตรงกับปี ค.ศ. 1788
เจ้าแก้วและเจ้านันทะเสนก็ได้เลยขึ้นเมือตีพระเจ้าอนุรุทธแห่งอาณาจักร
หลวงพระบางแตกอีก อยู่ที่เชียงขวางเอง เจ้ากางและเจ้าหล้า (หรือเจ้า
โพทิสาน) ซึ่งทั้งสองเป็นอ้ายน้อง โอรสของเจ้าหน่อเมือง (หรือเจ้าองค์โตน)
ก็ได้เกิดวิวาท ยาดกันเป็นเจ้าแผ่นดินพวน เจ้าหล้า (หรือเจ้าโพทิสาน) ได้
แต่งให้นายใช้ ไปหาเจ้านันทะเสน แม่ทัพของอาณาจักรล้านช้างเวียงจันที่ยังค้างอยู่ที่เมืองหลวงพระบาง เจ้านันทะเสนจึงแต่งให้เจ้าแก้วยกกองทัพ
ไปตีเจ้ากางอยู่ที่เชียงขวางแตก จากนั้นเจ้าแก้วก็เลยขึ้นไปเมืองสูย ตั้งค่าย
อยู่ภูทง บ้านแล ได้หนึ่งเดือน จึงขึ้นไปแขวงหัวพัน เพื่อติดตามตีเจ้าชมพู
และในที่สุดก็จับเจ้าชมพูได้พร้อมด้วยเพียเมืองกัดและเพียเมืองเส็ง แล้วก็
คุมตัวลงไปเวียงจัน
ครั้นไปถึงน้ำงึ่ม ท่าข้าม ช้างสมดี เจ้าแก้วก็ประหารชีวิตเพียเมือง
กัดและเพียเมืองเส็งถิ้มอยู่ที่นั้น ส่วนการประหารชีวิตผู้คนต่อไป คือ เจ้า
ชมพูที่เป็นกษัตริย์ เจ้าแก้วต้องได้ทำ พิธีตามประเพณีของการประหารของ
กษัตริย์องค์หนึ่ง คือต้องเอาสาดและเสื่อมาปูให้เรียบร้อยก่อนลงมือประหาร
ในทันใดนั้น ฟ้าได้มืดครึ้มลงทันที มีฝนตก ฟ้าคะนอง เฮ็ดให้ฟ้าผ่าเพชฌฆาต
ตายคาที่ และดาบที่จะใช้ในการประหารนั้นก็หักถ่องเห็นเป็นดังนั้น เจ้า
แก้วจึงสั่งหยุดการประหาร แล้วคุมตัวเจ้าชมพูลงไปเวียงจัน กักขังไว้เป็น
เวลา 3 ปี
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคือแนวนี้ เห็นว่าเป็นการยุติธรรม ดังนั้น เจ้า
เชียงผู้เป็นอนุชาของเจ้าชมพู จึงได้มีหนังสือไปหาเจ้าฟ้าแกว [พระเจ้า
จักรพรรดิเยียลอง (Gia Long)] ขอเอากองทัพไปตีเวียงจันแตก ในปีร้วง
เค้อ จ.ศ. 1153 ตรงกับปี ค.ศ. 1791 เจ้าชมพูและเจ้าเชียง จึงรีบฟ้าว
จัดแจงเอาครอบครัวบ่าวไพร่ราษฎรพวนขึ้นมาเชียงขวางทันที แล้วก็พากัน
ยกครอบครัวไปอยู่เมืองแถงในปีเดียวกันนั้น
ในปี จ.ศ. 1154 ตรงกับปี ค.ศ. 1792 เจ้ากาง โอรสของเจ้าหน่อ
เมือง หรือเจ้าองค์โตนก็ได้ขึ้นมาตั้งบ้านเมืองอยู่ที่นาบวก เมืองคัง (ลาดบวก
หรือเมืองแปก ในเวลานี้) ตกมาถึงปี จ.ศ. 1156 ตรงกับปี ค.ศ. 1794 เจ้า
ชมพูและเจ้าเชียงก็ได้ริบโรม21เอากำ ลังไทยวน, ไทย้าย และไทดำ จากเมือง
แถง แล้วก็ลงมาตีเจ้ากางอยู่ที่ลาดบวก กองทัพของเจ้ากางแตก จึงได้ขึ้น
ไปหาพระเจ้าอนุรุทธ หรือพระเจ้าร่มขาว อยู่ที่หลวงพระบาง เพื่อขอความ
ช่วยเหลือให้มาตีเจ้าชมพู ที่กำลังไล่ติดตามเจ้ากางไปฮอดเมืองสูย แต่ก็บ่
สามารถไล่ทันได้ จึงได้กลับคืนมาตั้งค่ายอยู่บ้านธาตุ เมืองคังสองปีต่อมา คือ ในปี จ.ศ. 1158 ตรงกับปี ค.ศ. 1796 เจ้าชมพูก็ได้
ย้ายเข้ามาตั้งค่ายอยู่เชียงขวาง คุ้มบุนกอง สองปีอีกต่อมา ในปีเปิกสะง้า
จ.ศ. 1160 ตรงกับปี ค.ศ. 1798 เจ้าชมพูก็ได้ปลูกหอคำ ขึ้นใหม่ โดยขยาย
ออกให้มีหอเบยเย็นและปฏิสังขรณ์วัดบุนกองขึ้น แล้วก็จัดส่งพระสังฆราช
บ้านยอนลงไปเรียนฮีตคองศาสนาอยู่ที่เวียงจัน
หนึ่งปีต่อมา ในปีกัดมด จ.ศ. 1161 ตรงกับปี ค.ศ. 1799 พระสงฆ์
หัวครูเวียงจันก็ได้แต่งให้หัวเจ้าวัดป่าขึ้นมาเชียงขวางเพื่อตั้งฮีตคองศาสนา
ไว้ ในปีนั้นพระสงฆ์สามเณรในเมืองพวน จึงบ่ทรงผ้าแดงและเข้ากรรมนอก
เขตตามที่เคยปฏิบัติกันมา
หนึ่งปีต่อมาอีก คือในปี จ.ศ. 1162 ตรงกับปี ค.ศ. 1800 พระเจ้าอิน
ทะวง หรือพระเจ้าไชยะเสดถาทิราช ที่ 3 ซึ่งเป็นพระเจ้าล้านช้างเวียงจัน
ในเวลานั้น เห็นว่าเจ้าชมพูสร้างบ้านแปลงเมืองให้เจริญรุ่งเรือง จึงแต่งตั้งให้
เจ้าอนุรุทธราช (ซึ่งไทยมักเอิ้นสั้นๆว่า เจ้าอนุ หรือเจ้าอนุวง) ให้เอากำลัง
ขึ้นไปจับเอาเจ้าชมพูและชายาลงไปกักไว้ที่เวียงจัน แล้วสิ้นพระชนม์ในปีเต่า
เส็ด25 จ.ศ. 1164 ตรงกับปี ค.ศ. 1802
เจ้าชมพูมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่า เจ้าคำโกด (หรือเจ้าหน่อ
เมือง) เมื่อพระเจ้าอินทะวงเห็นว่าเมืองพวนบ่มีผู้สำคัญแล้ว จึงทรงแต่งตั้ง
ให้เจ้าซามนตรีที่เป็นข้าหลวงแห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจัน ขึ้นไปเฮ็ด
สำ มะโนครัวเมืองพวน เพื่อให้ขึ้นกับอาณาจักรล้านช้างเวียงจันโดยเด็ดขาด
หลังจากเจ้าชมพูสิ้นพระชนม์ที่เวียงจันแล้ว ผู้เป็นน้องชาย คือ
 
'''องค์ที่ ๔๔ เจ้าเชียง''' (พ.ศ. ๒๓๔๔-๒๓๔๕)
๔๔.เจ้าเชียง ก็ได้ขึ้นครองราชย์ และปกครองได้ 1 ปี ก็สิ้นพระชนม์ เจ้า
เชียงมีโอรสหนึ่งองค์ทรงพระนามว่า เจ้าน้อย (หรือเจ้าสุดทะกะสุวันนะ
กุมาน) หลังจากพระองค์ได้สิ้นพระชนม์ไปในปีก่าเค้อ26 จ.ศ. 1165 ตรงกับ
ปี ค.ศ.1803 องค์เป็นราชโอรส คือ
 
'''องค์ที่ ๔๕ เจ้าสุทกะสุวัณนะกุมาร''' หรือเจ้าน้อย (พ.ศ. ๒๓๔๕-๒๓๗๔)
๔๕.เจ้าน้อย หรือเจ้าสุดทะกะสุวันนะกุมาน ก็ได้ขึ้นครองราชย์ พระองค์
ประสูติเมื่อปี จ.ศ. 1151 ตรงกับปี ค.ศ. 1789 และพอเมื่ออายุได้ 12 ปี ก็ได้
เข้ารับใช้เวียกงานในราชการฝ่ายปกครองของเจ้าชมพูผู้เป็นลุงเป็นเวลาหนึ่งปี และในราชการของเจ้าเชียง องค์เป็นบิดาอีก 1 ปี ก่อนขึ้นครองราชย์
เมื่ออายุได้ 14 ปี ในปีก่าเค้อ จ.ศ. 1165 ตรงกับปี ค.ศ. 1803 ในปีเดียวกัน
นั้น พระเจ้าอินทะวง องค์ทรงเป็นประมุขแห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันก็
สวรรคตในวันศุกร์ เดือน 3 ขึ้น 7 ค่ำ จ.ศ. 1165 ตรงกับปี ค.ศ. 1803 แล้ว
เจ้าอนุ ก็ได้ขึ้นครองราชย์แทนพระเสดถา เป็นประมุขแห่งอาณาจักร
ล้านช้างเวียงจันในปี จ.ศ. 1166 ตรงกับปี ค.ศ. 1804 รวมพระชนมายุได้ 37 ปี
หลังจากได้ขึ้นครองราชย์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เจ้าอนุก็ได้แต่งให้
ราชทูตถือพระราชสาส์นมาถวายเจ้าน้อย รับรู้อาณาจักรพวน และราชการ
ของเจ้าน้อย ราชทูตผู้นั้นก็แสดงตัวเป็นเสนา หาวิธีเฮ็ดสำ มะโนครัวเมือง
พวน และเฮ็ดบุญฮดสรงพระสังฆราชวัดสีพม ในเดือน 12 แรม 3 ค่ำ ปี จ.ศ.
1166 ตรงกับปี ค.ศ. 1804 นั้นเอง
ก่อนนั้น เจ้ากาง องค์เป็นโอรสของเจ้าหน่อเมือง (หรือเจ้าองค์โตน)
ที่ได้เอาตัวหลบหนีไปอยู่เมืองกาสี ก็ได้ยกกองทัพขึ้นไปทางเรือ ไปตั้งหอโฮง
คล้ายโดน อยู่ที่นาสาวมานซึ่งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ใกล้เมืองเชียงขวาง แล้ว
ก็ทำ บุญใหญ่ใส่ที่นั้นนานได้ 3 เดือน จนบ่าวสาวสมสู่กันจนมานมีลูก จึงให้ชื่อ
แห่งนั้นว่านาสาวมาน เดี๋ยวนี้ชาวพวนเอิ้นแห่งนี้ว่า สะม่าน เมื่อเห็นเป็นดัง
นั้น เจ้าน้อยจึงยกกองทัพไปตีเจ้ากาง แตกหนีไปอยู่เมืองพั่น อยู่ได้เพียง 3
เดือน ก็กลับขึ้นมาเชียงขวาง ขอพึ่งร่มเงาและบารมีสมภารของเจ้าน้อยต่อไป
ครั้นถึงปี จ.ศ. 1176-1177 ตรงกับปี ค.ศ. 1814-1815 ชนเผ่าขมุอยู่
ในดินพวนพากันลุกขึ้นขบถ จัดตั้งตัวเป็นเอกราช โดยประกาศว่าพระเจ้า
เจืองได้เกิดขึ้นมาแล้ว อยู่ที่บวมหาน ซึ่งเป็นทุ่งไหเหล้าเจืองอีกแห่งหนึ่ง ไกล
จากเมืองเชียงขวางไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 25 กิโลเมตร
และให้พวกขมุทั้งหลายจงได้ไปรวมกันอยู่ที่นั้น เพื่อรับคำสั่งในการปฏิบัติ
เมื่อทราบข่าวดังนั้น เพื่อตัดทุกปัญหาและเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น
เจ้าน้อยจึงได้ส่งทหารไปอ้อม28สถานที่ แล้วจับเอาหัวหน้าที่อ้างตนว่าเป็น
พระเจ้าเจืองนั้นมาลงโทษ แล้วการกบฏก็สงบลงทันที
ครั้นตกมาถึงปีเต่าสะง้า29 จ.ศ. 1184 ตรงกับปี ค.ศ. 1822 เจ้าน้อยผู้ที่เคยได้รับใช้ในราชการของผู้เป็นพระลุงและพระบิดา จึงมีแนวคิดสร้างสา
พัฒนาพึ่งตนเองและเป็นเจ้าตนเอง จึงได้นำ พาประชาชนปลูกสร้างหอคำ
อย่างใหญ่โตมโหฬาร ให้เทียบเท่ากับสิ่งที่มีอยู่ในนครเวียงจัน ได้ปรับปรุง
สร้างตั้งกองทหาร สร้างค่ายคูอยู่เทิงภูจอมเพ็ด และประดิษฐ์อาวุธยุทธภัณฑ์
นานาชนิด เพื่อเตรียมรับมือข้าศึกที่มาก่อกวนราวี แต่การสร้างสาดังกล่าว
เฮ็ดให้พญาเชียงดี ที่เป็นหนึ่งในพวกร่วมงานเกิดความบ่พอใจ จึงได้ลักลง
ไปเวียงจัน เพื่อร้องฟ้องรายงานเอาความดีความชอบจากเจ้าอนุ ซึ่งเป็น
พระเจ้าแผ่นดินอาณาจักรล้านช้างเวียงจันในเวลานั้น
ในปีก่ามด30 จ.ศ. 1185 ตรงกับปี ค.ศ. 1823 หลังจากที่เจ้าอนุได้รับ
การรายงานจากพญาเชียงดี หรือท้าวขุนเวี้ยนคำ (เมืองคำ ) แล้ว พระองค์
จึงได้แต่งให้นักพูมินขึ้นไปเชียงขวาง เพื่อจับเอาเจ้าน้อยลงมากักขังไว้อยู่
ที่เวียงจัน
จากนั้นเชียงขวางก็ขาดผู้ปกครอง ประชาชนก็ขาดระเบียบวินัย และ
สภาพของบ้านเมืองก็ตกอยู่ในความเศร้าหมอง เมื่อเห็นเป็นดังนั้น สองปีต่อ
มาคือตกมาถึงปีรวงเร้า จ.ศ. 1187 ตรงกับปี ค.ศ. 1825 พระเจ้าอนุจึงได้มี
พระราชโองการแต่งตั้งให้พระยาเชียงดีและพญาเมืองสูย คัดเลือกเอาผู้ที่มี
ความสามารถปกครองเมืองพวนไปถวายแด่พระองค์ พญาหมากขี้กา31ทั้ง
สอง ได้ตกลงเห็นเป็นเสียงเดียวกันว่า เจ้าคำโกด (หรือเจ้าหน่อเมือง) โอรส
ของเจ้าชมพูที่กำลังบวชอยู่ถ้ำมาดนั้น สมควรที่จะเป็นพระเจ้าแผ่นดินเมือง
พวนได้ จากนั้นพระเจ้าอนุจึงได้แต่งให้นักพูมินและพญาเชียงดี ถือขันนิมนต์
ขึ้นไปเชียงขวาง อาราธนาพระเจ้าคำโกด ขอให้สึกเพื่อไปขึ้นเสวยราชย์ แต่
พระองค์ได้ปฏิเสธ บ่รับขันนิมนต์
ส่วนเจ้าน้อยที่ถูกกักตัวอยู่ที่นครเวียงจันเป็นเวลา 3 ปีนั้นได้
พยายามกระทำ คุณงามความดีกับเจ้าอนุอยู่ตลอด นอกนั้น เจ้าน้อยยังเป็น
คนพิเศษที่มีวิชาเฉพาะในการแอบม้าพยศ ที่หาคนลาวในยุคนั้นเทียบได้
ยาก
เจ้าอนุมีม้าตัวหนึ่ง ซึ่งพระองค์เห็นว่าเป็นม้าศึกที่มีรูปทรงสวยงามและถูกต้องตามลักษณะ แต่เป็นม้าพยศ ซึ่งเจ้าอนุเองก็บ่สามารถจะฝึกแอบ
มันได้ เจ้าน้อยได้ขานอาสาฝึกม้าตัวนั้นให้เจ้าอนุ จนในที่สุดม้าตัวนั้นก็บอก
ได้ ใช้ฟัง ซึ่งพาให้เจ้าอนุมีความโสมะติ ยินดี ต่อความปรีชาสามารถของเจ้า
น้อยเป็นอย่างมาก
เพื่อเป็นการตอบบุญแทนคุณต่อเจ้าน้อยในการฝึกแอบม้าพยศตัว
นั้น เจ้าอนุจึงได้อนุญาตให้เจ้าน้อยกลับคืนเมือเมืองพวนเพื่อเสวยราชย์ต่อ
ไป แต่เพื่อบ่ให้เจ้าน้อยมีความเสียอกเสียใจในการที่ถูกกักกันอยู่เวียงจัน
นั้น เจ้าอนุจึงได้มอบราชธิดาของพระองค์ให้เป็นเอกอัครมเหสีของเจ้าน้อยพระนางเจ้าได้ประสูติโอรส 3 องค์ทรงพระนามว่า เจ้าโป้ เจ้าอึ่ง และ
เจ้าอ่าง (หรือเจ้าก่ำ) เฮ็ดให้ทั้ง 3 พระองค์ กลายเป็นหน่อแหนงร่วมของ
อาณาจักรพวนและของอาณาจักรล้านช้างเวียงจันพร้อมกันตกมาถึงปีรวายเส็ด จ.ศ. 1188 ตรงกับปี ค.ศ. 1826 พระเจ้าอนุ
คิดอยากเฮ็ดการกู้ชาติ เพื่อกอบกู้เอาเขตน้ำดินแดนเก่า ที่พระเจ้าฟ้างุ่ม
มหาราชได้ตกลงเอาไว้กับเจ้าชีวิตไทยสยาม จึงได้ยกกองทัพไปตีไทยสยาม
ฮอดเมืองโคราช
หนึ่งปีต่อมา คือ ในปีเมิงไค้ จ.ศ. 1189 ตรงกับ ค.ศ. 1827 เจ้านาย
ผู้ครอบครองเวียงจันได้แต่งนายใช้ ขึ้นมาขอทหารพวนนำ เจ้าน้อยเพื่อเอา
ไปรักษาเมืองเวียงจัน
แต่ทางเมืองพวนได้รับข่าวว่าในเดือน 6 ขึ้น 8 ค่ำของปีเดียวกันนั้น
ทางหลวงพระบาง, เชียงใหม่, แพร่, น่าน, ลำปาง และลำพูน จะยกกองทัพ
มาตีเมืองเชียงขวาง เจ้าน้อยจึงบ่สามารถส่งกองทหารไปรักษาเวียงจันได้
ตามความร้องขอ
ตกมาถึงเดือน 6 แรม 14 ค่ำพระเจ้าอนุได้ทรงถอยทัพออกจาก
หนองบัวลำภูมาฮอดเวียงจัน แล้วก็ได้ทรงเชิญให้เจ้าน้อยลงไปเฝ้า เมื่อเจ้า
น้อยลงไปถึงเวียงจันแล้ว พระเจ้าอนุก็ทรงมอบพระบรมวงศานุวงศ์ให้เจ้า
น้อยเอาขึ้นไปรักษาไว้อยู่ที่เชียงขวาง หลังจากได้รับคำ สั่งของเจ้าอนุแล้ว
เจ้าน้อยก็ได้พาครอบครัวของเจ้าอนุออกเดินทางจากเวียงจันในยามเช้า มื้อ
ร้วงเร้าตรงกับวันศุกร์ เดือน 7 แรม 2 ค่ำปีเมิงไค้ จ.ศ. 1189 ตรงกับปี
ค.ศ. 1827 นั้นเอง และในวันเดียวกันนั้น ยามแถใกล้ค่ำพระเจ้าอนุก็ได้
เสด็จลงเรือล่องไปเมืองแกวกลาง อานนาม
กองทัพไทยซึ่งบัญชาการโดยพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี)
แม่ทัพของสมเด็จพระนั่งเกล้า (รามาที่ 3) ก็ได้ไล่ติดตามมาถึงเวียงจัน บ่
พบเห็นพระเจ้าอนุ จึงได้ตั้งหน้าลงมือปล้นสะดม, ทำลาย, เตะถีบแม่ป้าน้า
สาวแบบไร้มนุษยธรรมจูดเกลี้ยง เผาเกลี้ยงทั้งเมือง มุ่นทลาย เรือนชาน
เป็นเถ้าถ่าน
เจ้าน้อยได้เอาครอบครัวของเจ้าอนุมาถึงเชียงขวางในเดือน 8 ขึ้น
7 ค่ำโดยใช้การเดินทางเป็นเวลา 20 มื้อ พอดีและก็ทรงวิตก ย่านกองทัพ
ไทยจะติดตามขึ้นไปถึงเชียงขวาง พระองค์จึงได้แต่งให้นายใช้ลงไปอานนาม
เพื่อขอเอาทหารแกวมารักษาตัวเมืองเชียงขวาง พระเจ้าจักรพรรดิมินมาง
(Minh Mang) แห่งประเทศแกวอานนาม ได้ส่งทหารให้ 120 คน
ในปีเดียวกันนั้น จากอาณาจักรล้านช้างร่มขาวหลวงพระบาง
พระเจ้ามันทาทุราดก็ได้แต่งพระราชสาส์นให้ราชทูตถือมาถึงเจ้าน้อย เชิญ
ให้ขึ้นไปเฝ้าเพื่อทำ หนังสือสัญญามิตรภาพ แต่บ้านเมืองกำลังตกอยู่ในความ
ยุ่งยากสับสน พระองค์จึงแต่งตั้งให้เจ้าราชวงศ์และพญาเชียงดีไปแทน ครั้น
ไปถึงเมืองสูยแล้วเจ้าราชวงศ์ก็ได้กลับคืนมา มอบภารกิจให้ขุนเสตุพนแทน
ตัวไปกับพญาเชียงดี ครั้นไปถึงหลวงพระบางแล้วทั้งสองคน คือ พญาเชียง
ดี และขุนเสตุพน เลยบ่ปฏิบัติไปในทางดี คิดแต่จะเอาดินเมืองพวนครึ่งหนึ่ง
ไปให้เมืองหลวงพระบาง เพื่อขอความดีความชอบนำ เจ้านครล้านช้างหลวงพระบาง แต่พระเจ้ามันทาทุราด องค์ปกครองนครล้านช้างหลวงพระบาง บ่
เห็นดีนำ ทั้งสองจึงพากันเลยลงไปบางกอก เพื่อปรึกษาหารือกับเจ้าชีวิต
รามาที่ 3 แห่งประเทศไทยสยาม
เจ้าน้อยอยู่ที่เชียงขวาง เมื่อทรงทราบว่าพญาเชียงดีและขุนเสตุพน
คิดกบฏดังนั้น จึงทรงวิตก ย่านทั้งสองนี้จะเอาทหารมาตีเชียงขวาง พระองค์
จึงห้างเอากองทหารไปลัดทางไว้
ในปีเดียวกันนั้น แกวได้ส่งกองทหารขึ้นมาตีเชียงขวาง เจ้าน้อยก็ได้
เกณฑ์ทหารออกไปรับมือ สู้รบเต็มความสามารถ แต่สู้กองทัพแกวบ่ไหว เจ้า
น้อยจึงได้ยอมให้เอาเชียงขวางไปขึ้นกับแกวอานนาม
ตกมาถึงปีเปิกเจี้ย จ.ศ. 1190 ตรงกับปี ค.ศ. 1828 เดือน 6 ขึ้น 9
ค่ำพญาเชียงดีและขุนเสตุพนก็ได้กลับคืนมาแต่บางกอก เมื่อทั้งสองขึ้นมา
ถึงบ้านสอด เจ้าน้อยก็ได้มีจดหมายที่เขียนด้วยมือของพระองค์เอง ไปลัดให้
พญาเชียงดี โดยมีเนื้อในใจความว่า “ความผิดของพญาเชียงดี ซึ่งมีต่อพระ
มหากษัตริย์นั้น จะควรประการใด จงให้พญาเชียงดีตัดสินใส่ตนเอาเทอญ”
เมื่อพญาเชียงดีรู้สึกว่าโทษของตนถึงต้องประหารชีวิตแล้ว ก็สั่งให้
นายใช้ ของเจ้าน้อย ฆ่าตนตายอยู่ที่บ้านสอด ในมื้อ เดือน 6 แรม 13 ค่ำ
นับแต่นั้นมา เจ้าสานซึ่งเป็นโอรสของเจ้ากางที่ได้เอาตัวหลบหนีไป
อยู่เมืองกาสีนั้น ก็ได้กลับคืนมาอยู่เมืองเชียงขวาง เจ้าน้อยเห็นว่าเจ้าสาน
เป็นผู้มีความฉลาดหลักแหลม จึงแต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ
ตกมาถึงปี จ.ศ. 1190 ตรงกับปี ค.ศ. 1828 เดือน 7 แรม 14 ค่ำ
พระเจ้าอนุได้เสด็จมาแต่เมืองแกวอานนาม [นำ บอจิน (Nam Bo Chinh)
หรืองีอาน (Nge Anh) หรือ วิน (Vinh)] มีทหารแกวมาพร้อม 3,000 คน
มาถึงลาดฮ้วงแล้ว เจ้าอนุก็เสด็จไปบ้านเชียงดี ครั้นถึงเดือน 8 แรม 7 ค่ำ�
ทหารแกวจำ นวน 3,000 คนที่ติดตามพระองค์มานั้น ก็เลยพากันกลับคืน
เมือเมืองแกวหมด ยังคงเหลือเพียงแต่ 30 คนเท่านั้น
ในท้ายปีเปิกเจี้ย จ.ศ. 1190 ตรงกับปี ค.ศ. 1828 นั้น พระเจ้าอนุ
ก็ได้ยกกองทหารไปตีปลดปล่อยดินแดนของลาวได้ในขอบเขตที่พระเจ้าฟ้างุ่มและไทยสยามได้ตกลงนำ กันในเมื่อก่อนหน้านั้น แล้วก็จัดให้มีการ
ปกครองไปฮอดแขวงโคราชสีมา รัฐบาลไทยสยามของพระเจ้ารามาที่ 3 ก็ได้
ส่งกองทัพแม่หญิง ซึ่งแม่นนางโม ภรรยาของเจ้าแขวงโคราชสีมา บัญชามา
แจกยายกันขายเหล้า, ปิ้งไก่ และข้าวปุ้น ให้แก่กองทหารของพระเจ้าอนุ
ที่อยู่ตามแขวงต่างๆ และให้พยายามตื๊อเอานายทหารชั้นผู้ใหญ่ของลาวมา
เป็นผัว ส่วนพระเจ้าอนุในเวลานั้น ยังกำลังบัญชากองทัพอยู่ที่หนองบัวลำภู
เมื่อกองทัพไทยสยามมาถึงสระบุรีแล้ว ก็ได้มีคำสั่งมาให้นางโม ให้
คำสั่งต่อให้ทหารแม่หญิงที่เป็นเมียของนายทหารลาวนั้น ให้เอามีดแถ
ปาดคอของผัวในเวลาที่ผัวกำลังนอนหลับ แล้วให้ไปรายงานให้นางโมทราบ
จากนั้นนางโมก็ได้แต่งคนไปรายงานให้กองทหารไทยสยามอยู่ที่สระบุรี ให้
ส่งกองทหารเข้ามาแจกยายกันตีทหารของเจ้าอนุที่บ่มีนายบัญชาการนั้นให้
แตกกระจัดกระจายกันไป
ส่วนเจ้าอนุเองเมื่อเห็นเหตุการณ์ที่บ่ดีแนวนั้น จึงรีบฟ้าวโตนหนีมา
เวียงจัน แล้วเดินทางต่อไปเมืองพวนและเมืองแกว เพื่อจะขอเอาทหารแกว
ขึ้นมาตีช่วยปลดปล่อยเอาดินลาวคืน พอหนีไปใกล้จะฮอดเมืองพวนก็รู้ข่าว
ว่ากองทหารไทยได้ติดตามมาอย่างใกล้ชิด ได้จูดเผาเรือนชานบ้านช่องในตัว
เมืองเวียงจันจนราบเกลี้ยง สืบต่อเดินทางโดยผ่านนาขม-นางา ถึงบ้านไร่
เมืองจิม ในเขตแดนตาแสงเชียงแดด เมืองแปก ในปัจจุบัน
การแตกทัพของพระเจ้าอนุ ออกจากเมืองโคราชสีมาและหนองบัวลำภู
ในวันอังคารที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1827 ซึ่งแม่น พญานะริน เป็นแม่ทัพใหญ่
ในครั้งนั้น ทางฝ่ายไทยสยามถือว่าเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่ โดย นางโม เป็น
ผู้ที่มีบทบาทสูง ในการระดมเอาหญิงสาวและเหล้ามาเบื่อเมานายทหารลาว
จึงได้เลื่อนยศจากคำ ว่า นาง ให้เป็น ท้าว โดยให้ใส่ชื่อว่า ท้าวสุรนารี ย้อนว่า
ได้เอาสุราและนารีมาใช้เบื่อเมาทหารลาวเพื่อเอาชนะกองทหารลาวในเวลา
นั้น เพื่อเทิดทูนท้าวสุรนารี ไทยสยามจึงได้หล่อรูปของท้าวสุรนารีติดตั้งไว้
อยู่ที่เมืองโคราชจนถึงทุกวันนี้
ทางฝ่ายไทยสยามได้ลงความเห็นว่า ชัยชนะต่อลาวจะสมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อไทยสยามได้จับเอาตัวเจ้าอนุมาลงโทษให้ได้
ดังนั้น เจ้าชีวิตไทยสยาม คือ พระนั่งเกล้า หรือรามาที่ 3 จึงได้มีคำสั่งให้แม่ทัพ คือ เจ้าพระยาบดินทรเดชา ที่เป็นแม่ทัพไทย ได้ขึ้นมาทำลาย
เวียงจันอีกเป็นครั้งที่ 2 พร้อมเดียวกันนั้น ก็ได้จัดส่งกำลังจำนวนหนึ่งให้ไล่
ติดตามเจ้าอนุ ซึ่งกำลังเดินทางไปหลบซ่อนตัวอยู่ในเขตแคว้นพวนอันเป็น
อาณาเขตของเจ้าน้อย องค์เป็นราชบุตรเขยของพระองค์
กองทัพไทยของเจ้าพระยาบดินทรเดชานี้ เมื่อเข้าไปถึงบ้านใด เมือง
ใด ในเขตแคว้นแดนพวนใด ก็ได้จับเอาประชาชนชาวพวนมาทรมาน และ
ฆ่าทิ่ม แบบวลีของไทยที่เว้าว่า “ปาดคอไก่ ให้ลิงย่าน” ดังตัวอย่างของความ
โหดเหี้ยมอีกบั้นหนึ่งของพระยาราชสุภาวดี ที่ได้กระทำ ต่อชาวลาวในเวลา
นั้นก็คือ เมื่อพระยาราชสุภาวดีได้กวาดเอาคนลาว พร้อมเอาทั้งพระบาง
เดินทางไปถึงเมืองยโสธร ได้มีท้าวบุตร ราชวงศ์แห่งเมืองยโสธร ได้เข้าไป
ร้องฟ้องต่อพระยาราชสุภาวดี ว่า
ท้าวคำ ผู้เป็นน้องชายของอุปราชของเมืองยโสธร ได้อำบังเอาบาง
ครอบครัวของชาวลาวไว้ เมื่อพระยาราชสุภาวดีรับทราบดังนั้น จึงสั่งให้
ทหารนำ เอาท้าวคำ ไปประหารชีวิต แต่ก่อนจะประหารชีวิต อุปราชเมือง
ยโสธรได้ขอร้องต่อพระยาราชสุภาวดีว่าท้าวคำ เป็นน้องชายของตน และเคย
ได้กระทำ คุณงามความดีต่อบ้านเมืองมาตลอด ถ้าหากพระยาจะประหารท้าว
คำ แท้ๆ ก็ขอให้ประหารตนเองนำ จากนั้นพระยาราชสุภาวดีจึงจับเอาโคตร
วงศ์ของอุปราชเมืองยโสธรทั้งหมดประมาณ 100 กว่าคน ไปขังใส่คอกไว้
แคมแม่ชี เอาเฟืองมาถม แล้วเอาไฟจูดทั้งเป็น (นี้คือประวัติศาสตร์ที่
พิมพ์เผยแผ่ในวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1957 โดยกระทรวงศึกษาธิการแห่ง
พระราชอาณาจักรลาว)
เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ผู้เป็นแม่ทัพไทยในสมัยเจ้า
อนุนั้น ในประวัติศาสตร์ของไทยเอง ก็ได้กล่าวถึงความโหดเหี้ยมเป็นภาษา
ไทยไว้ ตกมาถึงปี จ.ศ. 1191 ตรงกับปี ค.ศ. 1829 พระเจ้าแผ่นดินแกว คือ
สมเด็จพระเจ้าจักพรรดิมินมาง แห่งแกวกลางอานนาม ผู้ที่เคยปรปักษ์กับ
เจ้าน้อย ย้อนว่าเจ้าน้อยบ่ยอมอ่อนน้อมต่อแม่ทัพแกวตลอดเหิงนาน มา
นั้น จึงหาว่าเจ้าน้อยจับเจ้าอนุให้แก่ไทยสยาม แล้วก็ได้แต่งให้องค์ฮีบัดเป็น
แม่ทัพ ยกกองทหารมาตีเมืองพวน ชนะแล้วก็จับเอาตัวเจ้าน้อยไปประหาร
ชีวิต แบบบ่ยอมเข้าใจในเหตุผลใดๆ ทั้งสิ้น ผู้ชนะแม่นผู้ที่มีเหตุผล
ในเวลาที่ครอบครัวของเจ้าน้อยเดินทางไปเมืองแกวนั้น เรือเลยล่ม
อยู่ที่แก่งน้ำโม้ พระมเหสีก็เลยจมน้ำอยู่ที่วงคด จึงยังเหลือแต่พระราชโอรส
5 องค์ คือ : เจ้าโป้, เจ้าอึ่ง, เจ้าอ่าง (ดิกน้ำเกือบตาย อ้ายน้องเอาขี้เถ้ามา
คั้น ก่ำดำ ทั้งคีง จึงมีชีวิตชีวาคืนมา แล้วผู้คนทั้งหลายจึงได้ใส่ชื่อน้อย
ให้ว่า “เจ้าก่ำ”) , เจ้าทับ และเจ้าพมมา ที่แกวเอากักไว้เป็นเวลา 20ีปี ครั้นหมดบุญเจ้าน้อยไปแล้ว เมืองพวนก็บ่มีกษัตริย์สืบแทนเป็นเวลา
2 ปี มีแต่กวานฟูที่เป็นคนแกวได้เอาทหารแกวประมาณ 200 กว่าคนมาตั้ง
ค่ายอยู่ที่คังนาดาวเพื่อรักษาเมืองเชียงขวาง จากนั้นกวานฟูก็ได้ตั้งเจ้าสาน
ซึ่งเป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการในเวลานั้นให้ขึ้นครองราชสมบัติ
 
'''องค์ที่ ๔๖ เจ้าสาร''' (พ.ศ. ๒๓๗๔-๒๓๙๑)
๔๖.เจ้าสาน โอรสของเจ้ากาง ได้ขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นกษัตริย์เมือง
พวนโดยการแต่งตั้งจากกวานฟู ในปีร้วางเหม้า จ.ศ. 1193 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ.
1831 โดยให้อยู่ภายใต้การควบคุมทั้งหมดของแกวต่อไป จะเฮ็ดอันใด จะ
จัดการอันใดก็เป็นการยากใจเหลือที่สุด เจ้านายและบ่าวไพร่ราษฎร มีความ
เดือดร้อนสุดขีด ด้วยความกดขี่ข่มเหงเต็งเต็ก ของพวกแกว จะหาอันใด
พอจะเป็นผลประโยชน์ให้แก่บ้านเมืองก็บ่มี เห็นแต่ความวุ่นวายขอดเขี้ยว
เมื่อนึกถึงการที่พระเจ้าแผ่นดินแกวมินมาง ได้จับเอาเจ้าน้อยไปประหาร
ชีวิตแบบบ่มีเหตุผล ยิ่งพาให้เจ้านายและบ่าวไพร่ราษฎรมีความเคียดแค้น
จนเห็นว่าจะบ่สามารถอดทนทรมานอยู่ต่อไปได้อีกแล้ว
ดังนั้น ในปีกาบสง้า จ.ศ. 1196 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1834 เจ้าสานจึงได้แต่งตั้งให้คนใช้ไปขอเอากองทัพจากพระเจ้าแผ่นดินไทย เพื่อมาไล่ตีแกว
ให้หนี สมเด็จพระนั่งเกล้าจึงได้แต่งให้พระยาราชสุรินทร์เป็นแม่ทัพ คุมกอง
ทหารประมาณ 1,000 กว่าคนมาช่วย อีกหนึ่งทางฝ่ายหลวงพระบาง พระเจ้า
มันทาทุราดแห่งอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบางก็ได้แต่งตั้งให้เจ้าอุปราช
อะไพ เป็นแม่ทัพคุมกองทหารประมาณ 1,000 กว่าคนอีกมาช่วยเมืองพวน
แต่ทั้งสองกองทัพยังบ่ทันมาถึงเชียงขวาง เจ้าสานก็ได้แต่งให้ทหารพวนออก
ดักสกัดหลอนฆ่าทหารแกวในยามกลางคืน จนยังเหลือแต่หนึ่งหรือสองคน
ที่สามารถเอาชีวิตรอด โตนหนีกลับไปเมืองแกวได้
สองวันต่อมา กองทัพไทยและกองทัพลาวจากหลวงพระบางก็ได้มา
ถึงเชียงขวาง แม่ทัพไทยได้เว้ากับเจ้าสานว่าอาการเป็นดังนี้แล้ว เห็นทีพวก
ญวนจะกลับคืนมาตีเมืองพวนอีก เจ้าสานจะคิดป้องกันประการใด จะให้
กองทัพไทยอยู่รักษาเมืองพวนนี้ต่อไปไม่ได้ ครั้นกองทัพไทยไม่อยู่แล้ว พวก
ญวนก็จะกลับคืนมาเมืองพวนนี้อีกแน่นอน
แม่ทัพไทยจึงบังคับให้เจ้าสานกวาดเอาครอบครัวคนพวนประมาณ
6,000 คนลงไปตั้งภูมิลำเนาอยู่บ้านพันลำ ซึ่งตั้งอยู่ทางฝั่งขวาของแม่น้ำของ
ตรงกันข้ามกับบ้านก้วยในแขวงบอริคันของลาวในเวลานี้ แต่เมื่อถูกยัวะเย้า
ลงไปฮอดหนองคายแล้ว แทนที่จะลงไปหาบ้านพันลำ ทหารไทยเลยบังคับ
ให้เลยไปบางกอก
เมื่อเห็นเป็นดังนั้น เจ้าสะและเจ้าสาลีซึ่งเป็นโอรสของเจ้าเหม้นน้อย
ที่ถูกยัวะไปในขบวนเดียวกันนั้น จึงได้ชักชวนเอาครอบครัวจำนวนหนึ่ง
ประมาณ 3,000 คน ลักหนีกลับคืนมาเชียงขวาง แต่พอมานำ ทางได้พากันอด
ข้าวตายหลาย ส่วนครัวที่บ่หนีคืนมานำ หมู่นั้นก็ได้ถูกบังคับให้ไปตั้งเรือนอยู่
ที่บ้านท่าสาน เจ้าสานได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินปกครองเมืองพวนได้เพียงแต่ 4
ปีเท่านั้น ก็ถูกไทยบังคับเอาลงไปกักไว้อยู่ที่เมืองไทยสยาม สิ้นพระชนม์อยู่
ที่นั่น จึงได้ปะปล่อยเมืองพวนไว้ โดยบ่มีพระเจ้าแผ่นดินปกครอง บ่าวไพร่
ราษฎรมีความย่านกลัวความตาย จึงพากันหนีเข้าไปลี้ซ่อนอยู่ตามภูผาป่า
ไม้ตึบดงหนาเพื่อเอาชีวิตรอดจากนั้นพวกแกวก็ได้ยกกองทัพขึ้นมาราวีเมืองพวนอีก แต่เมื่อกวด
เบิ่ง บ่เห็นมีกองทัพไทย เห็นมีแต่ราษฎรเพียงเล็กน้อย พวกทหารแกวก็
พากันกลับคืนเมืองแกว ปะแต่กวานฟูกับทหารแกวประมาณ 100 กว่าคน
เท่านั้นไว้อยู่เมืองคำ กวานฟูได้จัดแบ่งดินเมืองพวนให้ออกเป็น 8 ตอน หรือ
8 เวี้ยน โดยให้ราษฎรคัดเลือกเอาท้าวเพีย 8 คน มาเป็นผู้ปกครองแต่ละ
เวี้ยน มีหน้าที่เป็นเสนาบดีที่ขึ้นอยู่ในความปกครองของกวานฟู
นับแต่นั้นมา เมืองพวนก็มีชื่อว่า ฟูตรันนิน ที่แบ่งออกเป็น 8 เวี้ยน
ด้วยกัน ดังต่อลงไปนี้
1. เวี้ยนกวาง แม่นเมืองเชียงขวาง มอบให้พญาเชียงคูน เป็น
ผู้ปกครอง
2. เวี้ยนคัง แม่นเมืองคัง มอบให้พญาเมืองคัง เป็นผู้ปกครอง
3. เวี้ยนแสน แม่นเมืองแสน มอบให้น้องเจ้าชีวิตชื่ออุปราช
แสนเมืองปกครอง
4. เวี้ยนกัด แม่นเมืองกัด มอบให้พญาเมืองกางเป็น
ผู้ปกครอง
5. เวี้ยนคำ แม่นเมืองคำ -บ้านบาน มอบให้พญาเมืองคำ
เป็นผู้ปกครอง
6. เวี้ยนสูย แม่นเมืองสูย มอบให้หมื่นสูยเป็นผู้ปกครอง
7. เวี้ยนเฮี้ยม แม่นหัวพันเฮี้ยม มอบให้เพียหัวพันเป็น
ผู้ปกครอง
8. เวี้ยนหมอก แม่นเมืองหมอก-ท่าโทม, มอบให้หมื่นหมอก
เป็นผู้รักษา
นอกจากนั้น กวานฟูยังได้แบ่งดินตอนหนึ่งอีกออกเป็น 2 เขต มอบ
ให้พญาตีนแท่น และพญาตีนเชียงที่เป็นเสนาผู้ใหญ่ให้เป็นผู้ปกครองอีกด้วย
เจ้าสาลี โอรสของเจ้าเหม้นน้อยที่ได้นำพาครอบครัวพวนจำนวน
หนึ่งจากหนองคาย ก็ได้เดินทางมาถึงเชียงขวางและก็คิดอยากเป็นพระเจ้า
แผ่นดินพวน จึงประกาศให้บ่าวไพร่ราษฎรที่ได้ลี้ซ่อนอยู่ตามภูผาป่าไม้นั้นให้ออกมาตั้งภูมิลำเนาอยู่บ้านเดิมของใผลาว เจ้าสาลีจึงสั่งให้ตงสีไปเฝ้า
สมเด็จพระเจ้ามันทาทุราดแห่งอาณาจักรล้านช้างร่มขาวหลวงพระบาง
เพื่อกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานชัยบัฏ และพร้อมเดียวกัน ก็
ได้แต่งให้สมพันไปเมืองแกวเพื่อกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทาน
ชัยบัฏจากพระเจ้าจักรพรรดิมินมางดั่งเดียวกัน
เมื่อตงสีได้ชัยบัฏมาแล้ว ก็ขัด บ่ส่งให้เจ้าสาลี โดยหาว่าเจ้าสาลีบ่
แม่นเจ้านายเชียงขวาง เจ้าสาลีเคียดหลาย จึงได้ฆ่าตงสีให้ตาย หลังจากตงสี
ตายแล้ว บรรดาท้าวขุน-ท้าวเพียทั้งหลายก็พากันเสียใจให้เจ้าสาลี จึงพากัน
ไปหาแกวอานนาม จึงได้พบกับสมพันและแกวที่กำลังถือชัยบัฏขึ้นมาฮอด
สบโม้ บรรดาท้าวขุนและท้าวเพียทั้งหลายจึงได้ร้องฟ้องต่อแกว ว่าพวกตนบ่
ยอมให้เจ้าสาลีเป็นพระเจ้าแผ่นดินเมืองพวนเป็นอันขาด เพราะเจ้าสาลีฆ่าตง
สีตาย และอีกประการหนึ่ง เจ้าสาลีก็บ่แม่นเชื้อสายเจ้านายเมืองพวนอีกด้วย
จากนั้นบรรดาพระราชโอรสของเจ้าน้อยอันมีเจ้าโป้ เจ้าอึ่ง เจ้าอ่าง
เจ้าทับ และเจ้าพมมา ที่แกวได้กักเอาไว้เป็นเวลา 20 ปี ก็ได้ถูกปลดปล่อย
ให้กลับคืนมาเมืองพวนดังเก่า เพราะถูกอภัยโทษจากพระเจ้าจักรพรรดิ
มินมางแห่งประเทศแกวกลางอานนาม
 
'''องค์ที่ ๔๗ พระเจ้าอิสระเชษฐา''' หรือเจ้าโป้ (พ.ศ. ๒๓๙๑-๒๔๐๘)
๔๗.เจ้าโป้ พระราชโอรสองค์ใหญ่ของเจ้าน้อย ก็ได้ขึ้นครองราชสมบัติในปี จ.ศ. 1210 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1848 และได้มาพักอยู่ทุ่งเชียงคำ เพื่อห้าง
หาจัดเวียกบ้านการเมืองอยู่ที่นั้น และพร้อมเดียวกันกวานฟูก็ได้ถอนทหาร
แกวกลับไปประเทศแกวอานนามทั้งหมด
สามปีต่อมา คือในปี จ.ศ. 1213 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1851 เจ้าโป้ก็ได้
เสด็จไปถึงเชียงขวาง ประชาชนพลเมืองบ่าวไพร่ราษฎรได้ให้การถวายรับ
ต้อนแด่พระองค์อย่างใหญ่โตมโหฬาร และพร้อมกับราชาภิเษกโดยถวาย
พระนามว่าพระเจ้าอิดสะหระเสดถา องค์ครอบครองเมืองมะหารัตนะบูรีรม
พมมะจักกะพัด สีมะหานักคะระตักกะเสลานะคอนเชียงขวางราชทานี
พระองค์ได้ทรงจัดให้พวกองค์เวี้ยนทั้งหลายให้มาเป็นเสนาบดีอยู่นำ ที่เชียง
ขวางทั้งหมด และพร้อมเดียวกันก็แต่งตั้งพระราชอนุชาทั้งสองคือ เจ้าอึ่ง เป็นเจ้าอุปราช และเจ้าอ่างเป็นเจ้าราชบุตร ส่วนเจ้าเกดราชโอรสกกของ
พระองค์เองให้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ เจ้าทับบ่ได้เป็นพระเจ้า
แผ่นดินด้วยเหตุว่าตนเองเป็นลูกเมียน้อยก็มีความเสียใจ จึงได้หนีกลับคืน
ไปฟ้องต่อพระเจ้าจักรพรรดิมินมางแห่งประเทศแกวอานนาม ร้องขอบ่ให้
รับเอาการจัดตั้งใหม่ของเมืองพวน กลับคืนมาจากอานนาม แล้วเจ้าทับก็
ชักชวนเอาเจ้าพมมาผู้เป็นน้องชายร่วมมารดาลงไปบางกอก กราบบังคม
ทูลพระกรุณาแด่พระเจ้าไทยสยาม รามาที่ 4 พระจอมเกล้า รามาที่ 4 ของ
ไทยสยามองค์นี้จึงได้มีจดหมายไปถึงเจ้านครล้านช้างหลวงพระบางเพื่อขอ
ความช่วยเหลือให้แก่เจ้าทับและเจ้าพมมา
จากนั้น สมเด็จพระเจ้าจันเทบปะพาคุน องค์เป็นพระเจ้าล้านช้างร่ม
ขาวหลวงพระบาง จึงได้มีจดหมายไปถึงพระเจ้าอิดสะหระเสดถาแห่งเมือง
พวน พระเจ้าอิดสะหระเสดถาจึงได้มีจดหมายตอบคืนว่าพวกแกวอานนาม
กำลังซอกจับเจ้าทับและเจ้าพมมาอยู่ จงอย่าฟ้าวให้พวกทั้งสองกลับคืน
ไปเมืองพวนเทื่อ เจ้าทับย่านแกวจับ จึงพาน้องชายค้างอยู่หลวงพระบาง
พระเจ้าอิดสะหระเสดถาได้ขึ้นเสวยราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินปกครองเมือง
พวนเป็นเวลา 14 ปี แล้วก็สวรรคตในวันพุธ ยามแถใกล้รุ่ง เดือน 12 ขึ้น 5
ค่ำ ปีฮับเป้า จ.ศ. 1227 ตรงกับปี ค.ศ. 1865
 
'''องค์ที่ ๔๘ พระเจ้าอึ่ง''' (พ.ศ. ๒๔๐๘-๒๔๑๙)
๔๘.เจ้าอึ่ง ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินเมืองพวนในปี รวายยี่
จ.ศ. 1228 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1866 หลังจากที่เจ้าโป้ได้สวรรคตไปเป็นเวลา
1 ปี จากนั้นพระองค์จึงได้ทรงแต่งตั้งเจ้าเกดซึ่งเป็นโอรสของเจ้าโป้และเป็น
เสนาบดีกระทรวงธรรมการให้เลื่อนขึ้นเป็นเจ้าอุปราช ส่วนเจ้าอ่างนั้น ยังคง
ให้เป็นเจ้าราชบุตรตามเดิม
แปดปีต่อมา คือในปีกาบเส็ด จ.ศ. 1236 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1874 พวก
ฮ่อทุงดำ ตีได้แขวงหัวพันห้าทั้งหก แล้วก็ยกทัพลงมาตีบ้านดอน ทุ่งเชียงคำ
และเมืองคำ พระเจ้าอึ่งโปรดสั่งให้เจ้าอุปราชเกดเป็นแม่ทัพคุมทหารและบ่าว
ไพร่ราษฎรออกไปต่อสู้กับฮ่ออยู่ที่บ้านดอน เจ้าอุปราชเกดถูกปืนของข้าศึก
อยู่ในสนามรบ และสิ้นพระชนม์ในวันจันทร์ เดือน 9 ขึ้น 13 ค่ำยามแถใกล้เที่ยง แต่กองทัพของเจ้าอุปราชเกดก็ยังต่อสู้ต้านทานบ่ให้ทหารฮ่อลู่เข้ามา
ในเมืองได้ พระเจ้าอึ่งทรงเห็นว่ากองทัพพวนจะสู้กองทัพฮ่อบ่ไหว จึงได้ขอ
เอากองทัพแกวของจักรพรรดิตือดึกให้มาช่วยรบฮ่อ พร้อมเดียวกันพระเจ้า
อึ่งก็ได้เสด็จออกไปสู้รบร่วมกับกองทัพแกว เลยถูกปืนของพวกฮ่อสวรรคต
อยู่ในสนามรบอีก เมื่อพระเจ้าอึ่งสวรรคตแล้วพวกแกวที่มาช่วยนั้นก็พา
กันกลับคืนไปเมืองแกวทั้งหมด ปะปล่อยให้พวกฮ่อเข้าปล้นบ้าน เผาเมือง
ขุดก่น วัดวาอาราม ทับม้างธาตุและเจดีย์ของพระพุทธศาสนาทุกๆ แห่ง
เจ้านายและบ่าวไพร่ราษฎรมีความย่านกลัวที่สุด จึงได้อพยพหนีไปอาศัย
อยู่ในดินหลวงพระบางและเวียงจันเป็นจำนวนหลวงหลาย ส่วนพวกที่ยัง
คิดเสียดายถิ่นฐานบ้านเกิดเมืองนอนก็นำ เอาเงินไปขอยอมฮ่อก็มี พาเอา
ครอบครัวหนีเข้าป่าไปลี้ซ่อนอยู่ตามยอดห้วย ภูผา ป่าไม้ก็มี
ตกมาถึงปีฮับเค้อ จ.ศ. 1237 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1875 สมเด็จพระ
จุลจอมเกล้า (รามาที่ 5) แห่งประเทศไทยสยาม ทรงทราบว่าพวกฮ่อได้ยก
กองทัพลงมาปล้นแขวงหัวพันและแขวงพวนอันเป็นปลายพระราชอาณาเขต
ดังนั้นจึงทรงพระกรุณาโปรดให้พระยาภูธราภัย (เหล็ก บุณยรัตพันธุ์) เป็น
แม่ทัพใหญ่ไปตั้งอยู่เมืองพิชัย และให้พระยาพิชัย (ดิด) ให้เป็นแม่ทัพฝ่าย
ไทย ให้เจ้าอุปราชคำ บัวเป็นแม่ทัพฝ่ายหลวงพระบาง และให้เจ้าอุปราชน้อย
สูยเป็นแม่ทัพฝ่ายเมืองน่าน คุมกองทัพออกจากเมืองหลวงพระบาง ไปทาง
บ้านเสี้ยวลงใส่ท่าอุ้ย ท่าโพ และสบวี้ เมื่อไปถึงเมืองยู้ เจ้าอุปราชคำ บัวจึงได้
กลับคืนหลวงพระบาง กองทัพของพระยาพิชัยได้ไปถึงนาเคิง-บ้านสูต ฝ่าย
กองทัพฮ่อจึงได้ยกพลไปตั้งค่ายปิดต้นทางอยู่ตามห้วยน้ำลำธาร และได้ปิด
ล้อมค่ายของพระยาพิชัย ค่ายของเมืองหลวงพระบางและค่ายของเมืองน่าน
ไว้จำนวน 5 แห่ง ทั้งสองข้างต่างก็แต่งกองทัพของตนออกสู้รบกับพวกฮ่อ
เป็นเวลา 18 วัน
ในเวลากลางคืน พวกฮ่อก็ได้ยกกองทัพไปตีค่ายของพระยาพิชัยและ
ค่ายของเมืองหลวงพระบางบ่แตก แต่ได้ตีค่ายของเมืองน่านนั้นแตก เฮ็ดให้
เจ้าอุปราชน้อยสูยถูกปืนแล้วสิ้นพระชนม์ จากนั้นพระยาพิชัยก็ได้ถอยทัพลงไปตั้งรักษาที่มั่นอยู่บ้านสอด บ่อนเป็นช่องทางของพวกฮ่อที่จะขึ้นไปตี
เมืองหลวงพระบาง และพร้อมเดียวกันนั้นพระยาพิชัยก็ได้ขอกองหนุนมา
ช่วย เจ้าพระยาภูธราภัยจึงได้จัดกองทัพมอบให้พระยาสุริยภักดี (เวก บุณย
รัตพันธุ์) ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยาภูธราภัยเองเป็นแม่ทัพขึ้นไปหลวงพระ
บาง แล้วตามไปช่วยพระยาพิชัยถึงบ้านสอดในวันศุกร์ เดือน 3 แรม 2 ค่ำในปี จ.ศ. 1245 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1883 สมเด็จพระเจ้าอุ่นคำ เจ้านครหลวง
พระบางจึงได้มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้เจ้าราชวงศ์ เจ้าสุวันนะพมมา
ซึ่งตั้งทัพอยู่เมืองซมในน้ำแซงนั้น ให้รีบยกกองทัพไปช่วยพระยาพิชัยอยู่ที่
บ้านสอดโดยด่วน เจ้าราชวงศ์ได้ยกกองทัพไปถึงบ้านสอด ก่อนกองทัพของ
พญาสุริยภักดีที่ได้คุมกองกำลังประมาณ 800 กว่าคน และอีกกองทัพหนึ่ง
ของพระยาสุโขทัย (ครุฑ) ที่มีกำลังพลอีกประมาณ 800 กว่าคน เพื่อสมทบ
กับกองกำลังของพระยาพิชัยที่มีกำลังพลอยู่แล้วประมาณ 700 กว่าคน สม
ใส่กำลังพลของเมืองน่านประมาณ 800 กว่าคน รวมเป็น 4 กองทัพ นำพา
โดยกองทัพของเจ้าราชวงศ์ ที่เป็นกองทัพหน้าประจัญบาน
ในวันพุธเดือน 3 แรม 7 ค่ำกองทัพทั้ง 4 ของไทย และของเจ้า
ราชวงศ์ก็ได้ยกกำลังออกจากบ้านสอด บุกหน้าเข้าตีกองทัพฮ่อจนแตกทลาย
แบบยับเยินหนีไปแบบบ่เป็นระเบียบ แต่ฝ่ายเราก็ยังได้ไล่ติดตามพวกฮ่อ
ดังกล่าวจนถึงทุ่งเชียงคำ เมื่อพวกฮ่อได้พากันแตกหนีออกไปจากเมืองพวน
หมดแล้ว แม่ทัพไทยก็ได้บังคับกวาดเอาครอบครัวชาวพวนให้ขึ้นไปเมือง
หลวงพระบาง บอกว่าจะเอาไปบางกอก
ในเวลานั้น โรคอหิวาต์ได้บังเอิญเกิดขึ้นอยู่ในทุกหนแห่งของเมือง
พวน เฮ็ดให้ชาวพวนได้ล้มตายอย่างหลวงหลายและอย่างสมเพทเวทนา
พยาธิดังกล่าวยังได้ติดแปดลุกลามไปฮอดเมืองหลวงพระบางและผู้คนก็พา
กันล้มตายอย่างฉิบหายวายวอด พวกที่เหลือตายก็ได้พากันลงไปสร้างวัดอยู่
เมืองสุวันนะคีรี เพื่อเอาไว้เป็นอนุสาวรีย์และอุทิศหาพี่น้องชาวพวนที่ได้พา
กันล้มตายหายจากในเวลานั้น
เมื่อชาวพวนได้ขึ้นไปถึงเมืองหลวงพระบางแล้ว เจ้าทองสูนซึ่งเป็นบุตรของเจ้ายอดและเจ้าหญิงทองทิบ ก็ได้แต่งงานกับเจ้าหญิงทิบพะเกสอน
ซึ่งเป็นราชธิดาของเจ้าอุปราชสุวันนะพมมา และมีราชบุตรด้วยกันคือ เจ้า
หญิงรัดทิดา เจ้าหญิงสัมมาวะดี เจ้าหญิงสีสุวัน เจ้าจันทะวง และเจ้าหญิง
คำหล้านงนารี
ส่วนพวกที่ยังคงค้างอยู่เมืองพวนประมาณ 1,000 ครอบครัวเท่านั้น
ก็เพราะว่าเจ้าอ่างและเจ้าอินสมได้คัดค้านขอร้องบ่ให้กองทัพไทยได้กวาด
เอาชาวพวนไป นอกนั้นเจ้าอ่างยังได้เดินทางไปบางกอกเพื่อเข้ากราบบังคม
ทูลพระกรุณาพระเจ้าแผ่นดินไทย คือ พระเจ้าจุลจอมเกล้า (รามาที่ 5) ขอ
เอาครอบครัวพวกพวนกลับคืนเชียงขวางทั้งหมด แต่ก็บ่สมหวังและได้กลับ
คืนมาเชียงขวางดายเปล่า
เมื่อกองทัพไทย และกองทัพหลวงพระบางได้หนีกลับคืนไปแล้ว
พวกฮ่อทุงดำ ก็ได้กลับคืนมาโจมตีและปล้นสะดมเมืองพวนอีก เจ้าอ่าง
ราชโอรสของเจ้าน้อยก็ได้พาครอบครัวบ่าวไพร่ราษฎรพวนเข้าไปลี้ซ่อนอยู่
ในฮ่องห้วย ภูผา ป่าไม้ จากนั้นบ่นาน เจ้าอ่างก็ได้สิ้นพระชนม์อยู่ที่เมือง
อาว
เมื่อเห็นสภาพการณ์บ้านเมืองเดือดร้อน กันดารและเศร้าหมอง
ดังนั้น เจ้าขันตีและเจ้าสีสุวัน ซึ่งทั้งสองเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอึ่ง จึง
ได้พร้อมกันเสด็จลงไปหาพระยาอามาตย์แม่ทัพไทยอยู่ที่เมืองหนองคาย เพื่อ
ขอความช่วยเหลือเอากำลังทหารไทยมาไล่พวกฮ่อ แต่แทนที่นายทัพไทย
จะช่วยแก้ไขความเดือดร้อนทันการณ์ ซ้ำพัดจัดส่งเจ้าขันตีและเจ้าสีสุวัน
ลงไปเฝ้าสมเด็จพระจุลจอมเกล้า (รามาที่ 5) อีกต่อหนึ่งอยู่ที่บางกอก สมเด็จ
พระจุลจอมเกล้า (รามาที่ 5) ก็ยังบ่ได้กล่าวความว่าจะจัดส่งกองทัพไปช่วย
เมืองพวน แต่ได้ทรงแต่งตั้งให้เจ้าขันตีกลับมาปกครองเป็นพระเจ้าแผ่นดิน
เมืองพวนต่อไป
 
'''องค์ที่ ๔๙ เจ้าขันตี''' (พ.ศ. ๒๔๑๙-๒๔๓๖)
๔๙.เจ้าขันตี ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินเมืองพวน ในปีรวาย
เจี้ย จ.ศ. 1238 ซึ่งตรงกับ ปี ค.ศ. 1876 ในระหว่างนั้นเมืองพวนมีศึกกับ
พวกฮ่อ ประชาชนบ่รู้จะเฮ็ดจะทำ บ่รู้จะอยู่จะกิน ดังนั้นเจ้าขันตีพร้อมด้วยพี่น้องอันมีเจ้าอินสม เจ้าอุ่นแก้ว เจ้าคำโง่น เจ้าไชยะวง เจ้าพมมะดี เจ้าอุ่น
เฮือน (เจ้าเถื่อน) เจ้าทองอิน และเจ้าคำเฮือง จึงได้ปลุกระดมผู้คนที่ลี้อยู่ใน
ป่านั้นให้ออกมาสู้รบกับพวกฮ่อได้หลายครั้งหลายหน แต่สู้กับพวกฮ่อบ่ไหว
พวกฮ่อที่มีจำนวนอันหลวงหลาย จึงได้ปลุกระดมเอากันลงมาอยู่เมืองพวน
เพิ่มเติมทวีคูณขึ้นอย่างหนาแน่น
เจ้าขันตีได้อ่วยหน้าไปขอพึ่งแกวเพื่อขอให้มาช่วยตีทหารฮ่อ แต่
แกวก็ช่วยบ่ได้ เพราะในเวลานั้นพวกแกวได้ถูกเก็บเกณฑ์ให้ไปรบเลวเพื่อ
ป้องกันบ้านเมืองของพวกเขาเหมือนกัน สภาพการณ์ยุ่งยากและกันดาร
แนวนั้น เจ้าขันตีจึงได้ขึ้นไปขอกองทหารนำ พระเจ้าแผ่นดินหลวงพระบาง
และพระเจ้าแผ่นดิน (รามาที่ 5) ของไทยอีก
ตกมาถึงปีกาบมด จ.ศ. 1245 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1883 สมเด็จพระ
จุลจอมเกล้า (รามาที่ 5) จึงได้โปรดแต่งตั้งให้พระยาราชวรกุลเป็นแม่ทัพ ให้
พระยาพิชัยและพระยาสุโขทัยเป็นนายทัพ ทางฝ่ายพระเจ้าแผ่นดินหลวง
พระบาง คือ พระเจ้าอุ่นคำ ก็ได้ทรงแต่งให้เจ้าอุปราช สุวันนะพมมา เป็น
แม่ทัพ ให้เจ้าราชบุตรคำสุก (ซึ่งต่อมาได้เลื่อนยศเป็นเจ้าราชวงศ์ แล้วเลื่อน
ขึ้นอีกเป็นสมเด็จพระเจ้าสักกะริน) และเจ้าบุนคง (ซึ่งเป็นเจ้าราชภาคิไนย
แล้วได้เลื่อนยศขึ้นเป็นเจ้าอุปราช) เป็นนายทัพลงไปตีพวกฮ่อ ไปถึงทุ่ง
เชียงคำ เข้าปิดล้อมค่ายของพวกฮ่อไว้
แต่ค่ายของพวกฮ่อในคราวนี้ ได้ตั้งขึ้นมาดนนานหลายแล้ว จนถึง
ปลูกกกไผ่บังแท่นระเนียดอ้อมรอบ ปืนใหญ่ของกองทัพไทยก็ยังบ่สามารถ
ยิงม้างกกไผ่เหล่านั้นได้ กองทัพไทยและกองทัพลาวจากหลวงพระบางก็ได้
ยกกำ ลังบุกเข้าตีพวกฮ่อหลายๆ ครั้ง แต่ก็บ่สามารถตีพวกเขาให้แตกออก
ไปได้ ย้อนว่าพวกฮ่อได้อาศัยกกไผ่เหล่านั้นเป็นบ่อนกำ บัง พวกฮ่อได้ยิงปืน
กวาดออกมาหลายครั้งหลายหน ครั้งหนึ่งพระยาราชวรกุลได้ยกกองทัพเข้า
ตีค่ายของพวกฮ่อด้วยตนเอง จึงได้ถูกปืนของพวกฮ่ออยู่ที่ขา มีอาการเจ็บ
ป่วยมาก พระยาจึงได้สั่งให้กองทัพตั้งปิดล้อมค่ายของพวกฮ่อไว้เป็นเวลา 2
เดือน ทหารไทยเกิดมีการเจ็บป่วย อ่อนกำลังด้วยขัดสนขาดเสบียงอาหาร พระยาราชวรกุลจึงจำ ต้องได้เลิกทัพถอยลงไปตั้งท่าใหม่อยู่เมืองหนองคาย
เมื่อกองทัพไทยได้ถอยตัวออกจากเมืองพวนไปแล้ว พวกฮ่อก็ได้
แบ่งกันลงไปตีเวียงจัน ปล้นสะดมแม่ป้าน้าสาว ขุดก่นพระธาตุหลวง ม้าง
เพวัดวาอาราม และเรือนชานบ้านช่องจนเกลี้ยง
ตกมาถึงปีฮับเร้า จ.ศ. 1247 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1885 สมเด็จพระ
จุลจอมเกล้า (รามาที่ 5) จึงได้โปรดให้กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคมเป็นแม่ทัพ
ไทยฝ่ายใต้ ให้พระยาอำ มาตย์และพระยาราชสุรินทร์เป็นแม่ทัพ ยกกองกำลัง
ของไทยที่มาจากเมืองหนองคาย เพื่อบุกเข้าโจมตีพวกฮ่อที่กำ ลังปล้นสะดม
เมืองเวียงจันจนแตกทลาย และยังได้ไล่ติดตามพวกฮ่อขึ้นไปจนถึงเมืองพวน
อีกหนึ่ง สมเด็จพระจุลจอมเกล้า (รามาที่ 5) ยังได้โปรดให้นาย
พันเอก เจ้าหมื่นไวยวรนาถ (เจิม แสง-ชูโต ซึ่งต่อมาได้เลื่อนยศเป็น นาย
พลตรี พระยาสุรศักดิ์มนตรี) ให้เป็นแม่ทัพฝ่ายเหนือ ให้นายร้อยเอก หลวง
ดัสกรปลาศ (อยู่) และหลวงจำ นงยุทธกิจ เป็นนายทัพ
ทางฝ่ายเหนือ พระเจ้าล้านช้างหลวงพระบางก็ได้ทรงแต่งตั้งให้เจ้า
ราชวงศ์คำสุกและราชภาคิไนยบุนคง ให้ขึ้นไปนำ กองทัพไทยเพื่อโจมตีพวก
ฮ่อซึ่งลงมาปล้นสะดมแขวงหัวพัน จากนั้นพวกฮ่อก็ได้อพยพหลบหนีออก
จากแขวงพวนและแขวงหัวพันไปทั้งหมด
เมื่อสงครามสงบแล้ว ในปีรวายเส็ด จ.ศ. 1248 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ.
1886 กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคมก็ได้แต่งตั้งให้พระยาราชสุรินทร์ จัดตั้ง
เอากองทหารไทยไปประจำ ไว้อยู่เชียงขวางและได้แต่งตั้งให้พระยาหล่มเป็น
ข้าหลวงใหญ่ของไทย
จากนั้นมาเพียง 1 ปี คือในปีเมิงเค้อ จ.ศ. 1249 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ.
1887 พระยาหล่มที่เป็นข้าหลวงใหญ่ของไทย ได้คิดอยากเอาเมืองพวนไป
เป็นของไทย แต่เกรงว่าเจ้านายเมืองพวนจะบ่ยินยอม และจะบ่สัตย์ซื่อต่อ
ไทย จึงได้จับเอาเจ้าขันตี (ที่เป็นพระเจ้าแผ่นดินพวนในเวลานั้น) เอาเจ้าอิน
สม, เจ้าทองอิน, เจ้าคำโง่น, เจ้าอุ่นแก้ว และพระญาติวงศ์พวนอื่นๆ อีก
ทั้งหมด 12 องค์ จับเอาบรรดาพญาผู้ปกครองเวี้ยนต่างๆ รวมด้วยกัน 8 คน และจับเอาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่พวนอีกจำ นวน 58 คน ส่งลงไปบางกอกพร้อม
กับพระเจ้าขันตี เมื่อไปถึงบางกอกแล้วพวกเจ้านายพวนคงปฏิเสธต่อข้อ
เสนอและจุดประสงค์ของไทยที่อยากเอาเมืองพวนไปเป็นของไทย
ทั้งหมดจึงถูกส่งเข้าคุกและขังไว้เป็นเวลา 8 ปีเต็ม ประวัติศาสตร์ยัง
เขียนไว้ว่าในระยะ 8 ปีที่ถูกจำคุกอยู่นั้น พระญาติวงศ์พวนได้สิ้นพระชนม์
ไปจำนวน 10 องค์ บรรดาพญาผู้ปกครองเวี้ยนพวนทั้ง 8 คน ได้ถึงแก่พิราลัย
ทั้งหมด และอีกข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของเมืองพวนจำนวน 58 คนก็ได้ถึงแก่
อสัญกรรมเกลี้ยง แต่บ่เห็นนักประวัติศาสตร์ใดๆ ได้รู้และเขียนสาเหตุของ
การสิ้นพระชนม์หรือการอสัญกรรมของเจ้านายพวน รวมทั้งพระเจ้าขันตีที่
เป็นพระเจ้าแผ่นดินพวนว่าย้อนถูกสังหาร ทารุณ ขาดอาหารหรือย้อนมี
พยาธิใดๆ จึ่งคงยังเหลือรอดชีวิตออกมาได้อย่างหวุดหวิด แต่เจ้าคำโง่น
และเจ้าอุ่นแก้ว จึงได้พากันลอบหนีเข้าไปขอลี้ภัยอยู่ที่สถานทูตฝรั่งเศส
ประจำบางกอก
จากนั้นราชทูตฝรั่งเศสจึงได้ส่งทั้งสองกลับคืนเมืองพวนโดยผ่าน
ไปทางเมืองไซ่ง่อน ประเทศโกแชงชินแกวใต้ และผ่านเมืองฮาติน (Ha
Tinh) ประเทศอานนามแกวกลาง เจ้าอุ่นแก้วมีความอ่อนเพลียหลายจึง
สิ้นพระชนม์อยู่ที่เมืองฮาติน จึงคงยังเหลือแต่เจ้าคำโง่นที่อดสาทำราชการ
อยู่นำฝรั่งเศส เมื่อบ้านเมืองเข้าอยู่ในความสงบเป็นของฝรั่งเศสเรียบร้อย
แล้ว เจ้าคำโง่นจึงได้ขึ้นมาเชียงขวาง
จากเมืองคำ ท้าวพานได้โตนหนีไปหาฝรั่งเศสอยู่ที่เมืองแกว ท่าน
เลอ มีร์ เดอ วิเลร์ (Le Myre de Villers) ได้แต่งตั้งให้ท้าวพานเป็นเจ้าเมือง
เมืองคำ แต่ขึ้นมาเมืองคำ ยังบ่ทันได้ ฝรั่งเศสจึงให้พักอยู่บ้านแก่งขอนในดิน
ลาว ต่อดินแกวก่อน
ตกมาถึงปีเปิก จ.ศ. 1250 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1888 พระยาหล่มที่เป็น
ข้าหลวงใหญ่ของไทยประจำ เชียงขวางนั้นได้ถูกย้ายหนี พญานิเวดได้เข้ามา
ว่าหน้าที่แทน จึงได้แต่งตั้งพญาอินคีรี พญาพิสาน พญาพิจิด ท้าวเชียงทิบ
และท้าวเชียงเพ็ด เป็นเจ้าเมืองต่างๆ ในแขวงพวน จากนั้นพญานิเวดก็ได้ซอกหาเอาความผิดใส่บรรดาเจ้าเมืองต่างๆ นั้น แล้วจับเอาทั้งหมดส่งลงไป
บางกอก ซึ่งต่อมาก็ได้เสียชีวิตเกือบทั้งหมด คงยังเหลือแต่ท้าวเชียงทิบที่
เป็นเจ้าเมืองเมืองคำ แต่ผู้เดียว
ส่วนท้าวพานที่พักอยู่บ้านแก่งขอนนั้นมีความวิตก ย่านพวกไทยจะ
กวาดเอาครอบครัวพวนลงไปเมืองไทยอีกเหมือนดั่งที่พวกเขาเคยได้กระทำ
มา จึงได้ลงไปหาฝรั่งเศสอีกอยู่ที่เมืองนินห์บินห์ (Ninh Binh) จากนั้นท่าน
ลูซ (Luce) จึงได้มีจดหมายถึงท่านปาวี (Auguste Pavie) อยู่ที่เมืองหลวง
พระบาง เพื่อพิจาณาคำ ร้องของท้าวพาน ต่อมาท่านปาวีจึงได้แต่งตั้งให้ท่าน
กูนิลิยง (Counillion) และนายเจียมที่เป็นคนขะแมร์ขึ้นไปต้อนรับเอาท้าว
พานลงมาอยู่เมืองคำ
ต่อมาถึงปีร้วงเหม้า จ.ศ. 1253 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1891 พญานิเวด
ที่เป็นข้าหลวงใหญ่ของไทยก็ได้นำ เอากองทหารของไทย ไปจับเอาท้าวพาน
อยู่ที่ทุ่งเชียงคำ แต่ก็ได้เกิดมีการสู้รบกันขึ้นท้าวพานถูกบาดเจ็บ บ่สามารถ
สู้รบต่อไปอีก จึงถูกทหารไทยจับได้ แล้วควบคุมตัวส่งลงไปบางกอก
ตกมาถึงปีก่าเสอ จ.ศ. 1255 ซึ่งตรงกับปี ค.ศ. 1893 สมเด็จพระเจ้า
น้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการ ที่เป็นเสนาบดีกระทรวงการต่าง
ประเทศของไทย ก็ได้เซ็นสัญญาสงบศึกกับฝรั่งเศสในวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ.
1893 และยอมยกดินฝั่งซ้ายของแม่น้ำของให้แก่ฝรั่งเศส โดยแม่นท่าน
โซเลร์ (Soler) เป็นผู้เซ็นรับมอบ และพร้อมเดียวกันนั้น ไทยก็ได้ปล่อยท้าว
พานโดยได้มอบให้ฝรั่งเศสอีก
เมื่อบ้านเมืองมีความสงบเป็นของฝรั่งเศสเรียบร้อยแล้ว
 
'''องค์ที่ ๕๐ เจ้าคำโง่น''' กษัตริย์องค์สุดท้ายของเมืองพวน (พ.ศ. ๒๔๓๖-๒๔๗๓)
๕๐.เจ้าคำโง่น โอรสของเจ้าอ่างที่กำลังทำราชการอยู่นำฝรั่งเศสอยู่ที่เมืองฮาติน ในประเทศ
แกวอานนามในเวลานั้น ได้ร้องขอต่อท่านโซเลร์ขอขึ้นมาเชียงขวางโดยผ่าน
มาทางคำม่วนและเวียงจัน
เมื่อเจ้าคำโง่นได้ขึ้นมาถึงเมืองพวนและได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมือง
เมืองเชียงขวางแล้ว เพิ่นก็ได้ร้องขอนำ รัฐบาลฝรั่งเศสขอให้ติดต่อกับรัฐบาล
ไทย ขอให้ส่งเจ้าขันตีผู้เป็นพี่ชายและเป็นพระเจ้าแผ่นดินเมืองพวนที่ไทยได้จับไปกักขังไว้อยู่ที่บางกอกนั้นให้กลับคืนมาเมืองพวน แต่ไทยได้ตอบว่าเจ้า
ขันตีได้สวรรคตไปแล้ว จึงได้มอบแต่ซากศพของเจ้าขันตีให้เอาคืนมาเชียง
ขวางเพื่อทำ พระราชกิจศพตามประเพณี
ต่อจากนั้นมา รัฐบาลฝรั่งเศสก็ได้ส่งท่านเดอลิโน (Delineau) ให้มา
เป็นข้าหลวงใหญ่ของฝรั่งเศสประจำแขวงพวน แต่ก็ยังใส่ชื่อแขวงพวนว่า
เป็นแขวงตรันนินอยู่ และก็ได้แต่งตั้งเจ้าคำเฮืองซึ่งเป็นโอรสของเจ้าอึ่งให้เป็น
กวานด้าว (หรือเจ้าครองแขวงพวน) แล้วให้แบ่งปันแขวงพวนออกเป็น 6
เมือง คือ เมืองคูน, เมืองคำ , เมืองคัง, เมืองแสน, เมืองสูย กับเมืองหมอก
เจ้าคำเฮือง หลังจากได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นกวานด้าวแล้ว ก็บ่ได้ปฏิบัติ
ตามคำสั่งของฝรั่งเศส แต่ยังได้ชักชวนและเต้าโฮมประชาชนให้ต่อต้านตีกับ
ฝรั่งเศสอีก ก็เลยถูกจับ ถูกปลดยศ ปลดตำ แหน่งและถูกขังคุก เจ้าคำ เฮือง
สามารถโตนออกจากคุกได้ ก็ได้โฮมกำ ลังกลับคืนมา ตีต่อต้านกับฝรั่งเศส
อีก ฝรั่งเศสได้ตีปราบเจ้าคำ เฮืองจนปราชัย และก็ถูกจับคืนมาใส่คุกอีก เจ้า
คำ เฮืองสามารถโตนออกจากคุกได้อีกแล้วก็เลยหนีไปทางแคว้นสิบสองพัน
นา และต่อมาก็ได้สิ้นพระชนม์อยู่ที่นั้น ปะให้เจ้าเมืองทั้งหลายปกครองเมือง
ใผลาวต่อไป
ส่วนพระราชโอรสของเจ้าอึ่งอีกที่ได้หนีศึกไปลี้อยู่บ้านพันลำ อันมี
เจ้าสีสุวัน เจ้าบุนคง และเจ้าดวงดีนั้น ก็ได้พากันขึ้นมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่
เมืองบอริคัน
เมืองบอริคันนี้ หลังจากพระยาอามาตย์นายทัพไทยที่ได้ขึ้นมาตี
พวกฮ่ออยู่ที่เมืองเวียงจันให้แตกแล้ว ก็ได้ไปตั้งบ้านนาแท่นเป็นเมือง เอิ้น
ว่า เมืองบอริคัน และไทยก็ได้แต่งตั้งเจ้าสีสุวันขึ้นเป็นเจ้าเมืองบอริคัน แต่ง
ตั้งให้ท้าวคำตาและอาชญาโถเมืองคังเป็นอุปราช
เมื่อเจ้าสีสุวันได้ขึ้นเป็นเจ้าเมืองบอริคันแล้ว ไทยก็ได้มอบครอบครัว
พวนจำนวน 600 คน ให้ขึ้นมาตั้งถิ่นฐานอยู่เมืองบอริคัน เมื่อเจ้าสีสุวันได้
สิ้นพระชนม์ไปแล้ว เจ้าบุนคงก็ได้ขึ้นเป็นเจ้าเมืองบอริคันแทน สืบต่อมาถึง
เจ้าดวงดีและเจ้าคำฮุ่ง
 
== อ้างอิง ==