ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kanitbas121 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
 
== ประวัติ ==
* '''[[พ.ศ. 2435]]''' [[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] เสนาบดีกระทรวงธรรมการทรงได้รับพระบรมราชานุญาตจัดตั้งโรงเรียนฝึกอาจารย์ ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น '''"โรงเรียนฝึกหัดครู"''' โดย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ในบริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตึกสายสวลีสัณฐาคาร ถนนบำรุงเมือง กรุงเทพฯ สังกัดกระทรวงธรรมการ ทำหน้าที่ผลิตครูเพื่อรองรับการขยายตัวของการจัดการศึกษาที่เริ่มต้นขึ้นในช่วงยุคปฏิรูปการปกครองในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
* '''[[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2453]]''' [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มี ได้ทรงพระบรมราชโองการกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กเป็นสถาบันอุดมศึกษาและพระราชทานนามว่า '''"โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"''' ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับอุดมศึกษาแห่งแรกของสยามประเทศเปิดสอน 5 แผนก ได้แก่ แผนกรัฏฐประศาสนศึกษา (เดิมเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในพระบรมมหาราชวัง) ,แผนยันตรศึกษา (เดิมเป็นโรงเรียนยันตรศึกษา หอวัง) ,แผนกเนติศึกษา (เดิมเป็นโรงเรียนกฎหมาย สะพานผ่านพิภพลีลา) ,แผนกเวชศึกษา (เดิมเป็นโรงเรียนราชแพทยาลัยศิริราช) , แผนกคุรุศึกษา (เดิมเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูอาจารย์พระนครและโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์บ้านสมเด็จเจ้าพระยา) ในปี พ.ศ.2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์พระนคร และโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์บ้านสมเด็จเจ้าพระยาไปสังกัดเป็นส่วนแผนกหนึ่งของโรงเรียนนี้ข้าราชการพลเรือน แต่ยังตั้งอยู่ที่เดิมจนถึงปี พ.ศ.2458 จึงได้ย้ายโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ไปอยู่ที่วังใหม่ (บริเวณสนามศุภชลาศัยในปัจจุบัน)
* '''[[26 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2459]]''' พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยแผนกครุศึกษารวมอยู่ในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ใช้ชื่อว่า '''"แผนกฝึกหัดครู"''' และเมื่อคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์แยกจากกัน แผนกฝึกหัดครูเปลี่ยนชื่อเป็น '''"แผนกครุศาสตร์"''' สังกัดคณะอักษรศาสตร์และครุศาสตร์
* '''[[พ.ศ. 2491]]''' คณะอักษรศาสตร์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นคณะอักษรศาสตร์และครุศาสตร์ ในปี [[พ.ศ. 2497]] ได้ผลิตบัณฑิตหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตรุ่นแรกจำนวน 41 คน ซึ่งถือว่าเป็นสถาบันแห่งแรกของประเทศไทยที่จัดหลักสูตรปริญญาทางการฝึกหัดครู
* '''[[10 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2500]]''' มีการแยกแผนกครุศาสตร์ ออกเป็นคณะครุศาสตร์ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นคณะที่ 7 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิง[[พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา]] หัวหน้าแผนกวิชาครุศาสตร์ในขณะนั้นเป็นคณบดีคนแรก
* '''[[10 มิถุนายนกรกฎาคม]] [[พ.ศ. 25012500]]''' มีการแยกแผนกครุศาสตร์ จัดตั้งเป็นคณะครุศาสตร์ โดยได้จัดตั้ง[[โรงเรียนสาธิตรับการสถาปนาขึ้นเป็นคณะที่ 7 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิง[[พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา]]ขึ้น เพื่อเป็นแหล่งปฏิบัติการวิจัยในการทดลองสอนของนิสิตคณะหัวหน้าแผนกวิชาครุศาสตร์ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพขณะนั้นเป็นคณบดีคนแรก
* '''[[10 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2501]]''' คณะครุศาสตร์ได้จัดตั้ง[[โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ขึ้น เพื่อเป็นแหล่งปฏิบัติการวิจัยในการทดลองสอนของนิสิตคณะครุศาสตร์
 
== หน่วยงาน<ref>[http://www.edu.chula.ac.th/edhome/depjobs.pdf ประกาศคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง การกำหนดพันธกิจภาควิชาและสาขาวิชาภายในภาควิชา พ.ศ. 2548]</ref> =={{บน}}
== บุคลากร ==
=== ตำแหน่งทางวิชาการ ===
* [[ศาสตราจารย์]] 4 ท่าน
* รองศาสตราจารย์ 39 ท่าน
* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 46 ท่าน
* อาจารย์ 44 ท่าน
'''รวม''' 133 ท่าน
 
=== วุฒิการศึกษา ===
* ปริญญาเอก 81 ท่าน
* ปริญญาโท 49 ท่าน
* ปริญญาตรี 3 ท่าน
'''รวม''' 133 ท่าน
 
'''หมายเหตุ''' : ข้อมูล ณ วันที่ 25 พ.ค.2547
 
== หน่วยงาน<ref>[http://www.edu.chula.ac.th/edhome/depjobs.pdf ประกาศคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง การกำหนดพันธกิจภาควิชาและสาขาวิชาภายในภาควิชา พ.ศ. 2548]</ref> ==
{{บน}}
* ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
** สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน