ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การออกเสียงประชามติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: อิโมจิ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: อิโมจิ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 13:
หลายประเทศมีการออกเสียงประชามติเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว [[ประเทศไทย]]เคยมีการนำเอาการออกเสียงประชามติมาบัญญัติไว้ใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ฉบับ [[พ.ศ. 2492]] ฉบับ [[พ.ศ. 2511]] ฉบับ [[พ.ศ. 2517]] ฉบับ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540|พ.ศ. 2540]] และฉบับชั่วคราว [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549|พ.ศ. 2549]] โดยสามฉบับแรกกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิออกเสียงประชามติในกรณีที่เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเท่านั้น ส่วนฉบับ พ.ศ. 2540 กำหนดให้นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีสามารถขอให้ประชาชนออกเสียงประชามติในเรื่องที่อาจกระทบถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติหรือประชาชนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยไม่เคยมีการดำเนินการออกเสียงประชามติตามที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติไว้จนกระทั่ง [[พ.ศ. 2550]] ที่มีการออกเสียงให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบต่อร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
 
=== รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2549 (ชั่วคราว) ===😓😄😓😄😓😬😬
[[ไฟล์:2007 Thai constitutional referendum chart.png|200px|right]]
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549]] ได้บัญญัติให้มีการนำระบบการออกเสียงประชามติมาใช้ใน[[ประเทศไทย]]อีกครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้ประชาชนออกเสียงเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ [[ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] โดยการออกเสียงจัดให้มีขั้นเมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2550]] และนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีการออกเสียงประชามติในประเทศไทย ซึ่งผลรวมทั่วประเทศออกมามีผู้เห็นชอบ 57.81 % และไม่เห็นชอบ 42.19 % หรือคิดจากผู้มีสิทธิทั้งหมดได้ผลตามตาราง