ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พ่อขุนรามคำแหงมหาราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ah3kal (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 101.108.84.118 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 58.97.94.82
บรรทัด 35:
 
[[ราชบัณฑิตยสถาน]]สันนิษฐานว่า พระนามเดิมของพระองค์คือ "ราม" เพราะปรากฏพระนามเมื่อเสวยราชย์แล้วว่า "พ่อขุนรามราช" อนึ่ง สมัยนั้นนิยมนำชื่อปู่มาตั้งเป็นชื่อหลาน ซึ่งตาม[[ศิลาจารึกหลักที่ 11]] พระราชนัดดาของพระองค์มีพระนามว่า "พระยาพระราม" และในชั้นพระราชนัดดาของพระราชนัดดา ในเหตุการณ์การแย่งชิงราชสมบัติ[[กรุงศรีอยุธยา]] [[พ.ศ. 1962]] ตาม[[พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ|พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]] ปรากฏเจ้าเมืองพระนามว่า "พระยาบาลเมือง" และ "พระยาราม"
 
=== การเสวยราชย์ ===
นาย[[ตรี อมาตยกุล]] ได้เสนอว่า พ่อขุนรามคำแหงมหาราชน่าจะเสวยราชย์ [[พ.ศ. 1820]] เพราะเป็นปีที่ทรงปลูก[[ตาล|ต้นตาล]]ที่สุโขทัย
 
ศาสตราจารย์[[ประเสริฐ ณ นคร]] [[ราชบัณฑิต]] จึงได้หาหลักฐานมาประกอบพบว่า กษัตริย์[[อาหม|ไทยอาหม]]ถือประเพณีทรงปลูก[[ไทร|ต้นไทร]]ตอนขึ้นเสวยราชย์อย่างน้อยเจ็ดรัชกาลด้วยกัน ทั้งนี้ เพื่อสร้างโชคชัยว่ารัชกาลจะอยู่ยืนยงเหมือนต้นไทร อนึ่ง ต้นตาลและต้นไทรเป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของ[[ลังกา]]จนทำหาย
 
== พระราชกรณียกิจ ==