ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทกภัยและดินถล่มในภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2554"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 4:
เมื่อวันที่ 27 มีนาคม ต่อศักดิ์ วานิชขจร อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวถึงสาเหตุของอุทกภัยในภาคใต้ว่า เป็นผลมาจากอิทธิพลของความกดอากาศต่ำจาก[[ประเทศจีน]]ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม ประกอบกับความกดอากาศต่ำในอ่าวไทย เมื่อวันที่ 24-25 มีนาคม การรวมตัวกันของความกดอากาศทั้งสองนี้เคลื่อนเข้าพื้นที่ภาคใต้ ทำให้เกิดพายุคล้าย[[พายุดีเปรสชัน]] ทำให้เกิดฝนตกหนักตั้งแต่[[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]]จนถึงจังหวัดพัทลุงมากกว่า 200 มิลลิเมตร<ref name="kl">[http://www.komchadluek.net/detail/20110327/92870/%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%83%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%94.html เตื่อนใต้ติดตามพยากรณ์อากาศใกล้ชิด]. (27 มีนาคม 2554). คมชัดลึก. สืบค้น 3-4-2554.</ref>
 
=== ดินถล่ม === ดินถล่มไงทำไมอะ
ด้านเจ้าหน้าที่ชุดตรวจการณ์ของ[[เทศบาลนครสงขลา]] ตรวจสอบสภาพพื้นที่บนเขาน้อย โดยเฉพาะสภาพของดินบริเวณที่เกิดดินถล่มเมื่อวันที่ 6 มกราคมที่ผ่านมา ผลการตรวจสอบพบว่า พื้นที่บริเวณดังกล่าวมีเศษหินและดินไปขวางการไหลของน้ำ ทำให้เสี่ยงที่ทำให้ดินชุ่มน้ำและถล่มลงมาซ้ำ โดยเฉพาะในรอบ 6 ปีที่ผ่านมา ได้เคยเกิดเหตุดินถล่มมาทับบ้านเรือนบริเวณตีนเขามาแล้ว 2 ครั้ง มีผู้เสียชีวิต 3 ราย<ref name="kl"/>