ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟ้อนเล็บ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
'''ฟ้อนเล็บ''' เป็นการฟ้อนของ[[ชาวไทย]][[ภาคเหนือ]]การแสดงจะมีดนตรีบรรเลงประกอบ จะมีเนื้อร้องหรือไม่มีเนื้อร้องก็ได้ โอกาสที่แสดง ในงานเทศกาลหรืองานนักขัตฤกษ์ต่าง ๆ
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตก ของทั่วโลก ซึ่งแต่ละประเทศจะเห็น ต่างเวลากัน
 
== ประวัติ ==
ฟ้อนเล็บเป็นศิลปะการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ทางภาคเหนือโดยเฉพาะรูปแบบการฟ้อนมีอยู่ 2 แบบ คือแบบพื้นเมืองหรือฟ้อนเมือง และแบบคุ้มเจ้าหลวง กระบวนท่ารำเป็นลีลาท่าฟ้อนที่มีความงดงามเช่นเดียวกับฟ้อนเทียน เพลงแต่ไม่ถือเทียน นิยมฟ้อนในเวลากลางวัน สำหรับชื่อชุดการแสดงจะมีความหมายตามลักษณะของผู้แสดงที่จะสวมเล็บยาวสีทองทุกนิ้ว ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ
 
ฟ้อนเล็บของกรมศิลปากร ได้รับรูปแบบการฟ้อนจากคุ้มเจ้าหลวงเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ [[พระราชชายาเจ้าดารารัศมี]] เป็นผู้ปรับปรุง ซึ่งได้นำมาเผยแพร่ที่[[กรุงเทพมหานคร]]ในคราวสมโภช[[พระเศวตคชเดชน์ดิลก]]
ช้างเผือกในรัชกาลที่ 7 เมื่อ พ.ศ. 2470 แล้ว[[นางลมุล ยมะคุปต์]] ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย [[วิทยาลัยนาฏศิลป]] [[กรมศิลปากร]]ได้นำมาฝึกให้ละครคณะหลวงใน[[รัชกาลที่ 7]] และถ่ายทอดให้
เป็นชุดการแสดงของกรมศิลปากรโดยมีเนื้อร้องประกอบการแสดง เพื่อเป็นการบวงสรวงหรือฟ้อนต้อนรับตาม[[ประเพณี]]ทาง[[ภาคเหนือ]]
 
== ผู้แสดง ==