ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีอวกาศนานาชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ras67 (คุย | ส่วนร่วม)
update
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
{{กล่องข้อมูล สถานีอวกาศ
| station = สถานีอวกาศนานาชาติ
| station_image = The station pictured from the SpaceX Crew Dragon 5 (cropped).jpg
| station_image_size =
| station_image_caption = มุมมองเฉียงจากข้างหน้า พฤศจิกายน ค.ศ. 2021
| insignia =[[ไฟล์:ISS insignia.svg|frameless|upright=0.5]] [[ไฟล์:ISS emblem.png|frameless|upright=0.6]]
| insignia_size =
| insignia_caption = เครื่องหมายโครงการสถานีอวกาศนานาชาติ
| COSPAR_ID = 1998-067A
| SATCAT = 25544
| sign = ''Alpha'', ''Station''
| crew = ลูกเรือทั้งหมด: 7 <br />ปัจจุบันอยู่: 7
| launch = {{start date and age|1998|11|20|df=yes}}
| launch_pad = {{plainlist|
* {{nowrap|[[ไบโคนูร์คอสโมโดรม|ไบโคนูร์]], ฐาน 1/5 และ ฐาน 81/23}}
* {{nowrap|[[ศูนย์อวกาศเคนเนดี|เคนเนดี]], LC-39 และ [[สถานีกองทัพอากาศแหลมคะแนเวอรัล|CCSFS]], SLC-41}} (อนาคต)
}}
| reentry = <!--{{end-date|df=yes|}}-->
| mass = {{cvt|444615|kg|lb}}<ref name="ISS_stats">{{Cite web |last=Garcia |first=Mark |date=9 May 2018 |title=About the Space Station: Facts and Figures |url=https://www.nasa.gov/feature/facts-and-figures |access-date=17 Jul 2020 |publisher=[[NASA]]}}</ref>
| length = {{cvt|239.4|ft|order=flip}}<ref name="ISS_stats" />
| width = {{cvt|357.5|ft|order=flip}}<ref name="ISS_stats" />
| volume = {{cvt|32333|cuft|order=flip}}<ref name="ISS_stats" />
| pressure = {{convert|101.3|kPa|psi atm|1|abbr=on|lk=on}}<br />79% nitrogen, 21% oxygen
| perigee = {{cvt|413|km|mi|1}} [[ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล|เหนือระดับน้ำทะเล]]<ref name="heavens-above" />
| apogee = {{cvt|422|km|mi|1}} เหนือระดับน้ำทะเล<ref name="heavens-above" />
| inclination = 51.64 องศา<ref name="heavens-above" />
| speed = {{convert|7.66|km/s|km/h mph|abbr=on|disp=x|<ref name="heavens-above" />{{Failed verification|date=May 2021|reason=Page does not mention orbital speed, just some of the other orbital parameters. This reference should be removed for this value?}}<br /><small>(|)</small>}}
| period = 92.68 นาที<ref name="heavens-above" />{{Failed verification|date=May 2021|reason=Page does not mention the period time, just some of the other orbital parameters. This reference should be removed for this value?}}
| orbits_day = 15.49<ref name="heavens-above" />
| in_orbit = {{time interval|20 November 1998 06:40|show=ymd|sep=,}}<br /><small>({{TODAY}})</small>
| occupied = {{time interval|2 November 2000 09:21|show=ymd|sep=,}}<br /><small>({{TODAY}})</small>
| orbits = 133,312
{{as of|2022|06|lc=y}}<ref>{{Cite web|url=https://www.celestrak.com/NORAD/elements/stations.txt|title=celestrak}}</ref>
| decay = 2 กม./เดือน
| orbit_epoch = 24 เมษายน 2022 16:30:11
<ref name="heavens-above">{{Cite web |last=Peat |first=Chris |date=21 May 2021 |title=ISS – Orbit |url=http://www.heavens-above.com/orbit.aspx?satid=25544 |access-date=21 May 2021 |website=[[Heavens-Above]]}}</ref>
| as_of = {{As of|2021|3|9}}
| stats_ref = <ref name="ISS_stats" /><ref name="heavens-above" /><ref name="OnOrbit" /><ref>{{Cite web |date=7 May 2010 |title=STS-132 Press Kit |url=http://www.nasa.gov/pdf/451029main_sts132_press_kit.pdf |access-date=19 June 2010 |publisher=NASA}}</ref><ref>{{Cite web |date=27 February 2011 |title=STS-133 FD 04 Execute Package |url=http://www.nasa.gov/pdf/521138main_fd04_ep.pdf |access-date=27 February 2011 |publisher=NASA}}</ref>
| configuration_image = ISS configuration 2022-12 en.svg
| configuration_alt =
| configuration_caption = โครงสร้างของสถานีอวกาศนานาชาติ {{As of|2022|12|lc=on}}
}}
 
{{Spaceflight sidebar}}
'''สถานีอวกาศนานาชาติ''' ({{lang-en|International Space Station}}, ISS, {{lang-ru|Междунаро́дная косми́ческая ста́нция}}, {{lang|ru|МКС}}, {{lang-fr|Station spatiale internationale}}, {{lang|ru|SSI}}) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นใน[[วงโคจรต่ำของโลก]] การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 และมีแผนดำเนินการเสร็จสิ้นในปี ค.ศ. 2012 ขณะที่การปฏิบัติการจะดำเนินต่อไปอย่างน้อยจนถึงปี ค.ศ. 2020 หรืออาจเป็นไปได้ถึงปี ค.ศ. 2028<ref>{{cite web|url=http://www.spacepolicyonline.com/pages/index.php?option=com_content&view=article&id=1538:esa-formally-agrees-to-continue-iss-through-2020&catid=67:news&Itemid=27|title=ESA Formally Agrees to Continue ISS Through 2020|last=Smith|first=Marcia|publisher=spacepolicyonline.com|date=2011-04-27|accessdate=1 June 2011|archive-date=2011-07-27|archive-url=https://web.archive.org/web/20110727135857/http://www.spacepolicyonline.com/pages/index.php?option=com_content&view=article&id=1538:esa-formally-agrees-to-continue-iss-through-2020&catid=67:news&Itemid=27|url-status=dead}}</ref><ref>{{cite web|url=http://spaceflightnow.com/news/n1003/11station/|title=Space station partners set 2028 as certification goal|last=Clark|first=Stephen|date=2010-03-11|publisher=Spaceflight Now|accessdate=1 June 2011}}</ref> เราสามารถมองเห็นสถานีอวกาศนานาชาติได้ด้วยตาเปล่าจากพื้นโลก<ref name="see"/> เนื่องจากสถานีอวกาศแห่งนี้เป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดที่อยู่ในระดับวงโคจรของโลก โดยมีมวลมากกว่า[[สถานีอวกาศ]]ใดๆที่มนุษย์เคยสร้างมาก่อนหน้านี้ทั้งหมด<ref name="10th">{{cite web|url=http://www.nasa.gov/mission_pages/station/main/10th_anniversary.html|title=Nations Around the World Mark 10th Anniversary of International Space Station|publisher=NASA|date=November 17, 2008|accessdate=March 6, 2009}}</ref> สถานีอวกาศนานาชาติทำหน้าที่เป็นห้องทดลองวิจัยอย่างถาวรในอวกาศ ทำการทดลองด้านต่าง ๆ ได้แก่ [[ชีววิทยา]] [[ชีววิทยามนุษย์]] [[ฟิสิกส์]] [[ดาราศาสตร์]] และ [[อุตุนิยมวิทยา]] ซึ่งต้องอาศัยการทดลองในสภาวะที่มีแรงโน้มถ่วงน้อยมากๆ<ref name="ISS overview"/><ref name="NASA Fields of Research">{{cite web|url=http://pdlprod3.hosc.msfc.nasa.gov/A-fieldsresearch/index.html|archiveurl=https://web.archive.org/web/20080123150641/http://pdlprod3.hosc.msfc.nasa.gov/A-fieldsresearch/index.html|archivedate=2008-01-23|title=Fields of Research|date=June 26, 2007|publisher=NASA|access-date=2009-11-01|url-status=dead}}</ref><ref name="NASA ISS Goals">{{cite web|url=http://pdlprod3.hosc.msfc.nasa.gov/B-gettingonboard/index.html|archiveurl=https://web.archive.org/web/20071208091537/http://pdlprod3.hosc.msfc.nasa.gov/B-gettingonboard/index.html|archivedate=2007-12-08|title=Getting on Board|date=June 26, 2007|publisher=NASA|access-date=2009-11-01|url-status=dead}}</ref> สถานีอวกาศแห่งนี้ยังทำหน้าที่เป็นสถานที่ทดสอบสำหรับระบบกระสวยอวกาศที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ ซึ่งจำเป็นต้องใช้สำหรับปฏิบัติการระยะยาวเพื่อการไปสู่[[ดวงจันทร์]]และ[[ดาวอังคาร]]<ref name="ResProg"/> การทดลองและการบริหารสถานีอวกาศนานาชาติดำเนินการโดย[[รายชื่อคณะลูกเรือถาวรของสถานีอวกาศนานาชาติ|คณะนักบินอวกาศ]]ซึ่งอยู่ปฏิบัติหน้าที่ในระยะยาว สถานีเริ่มปฏิบัติการนับแต่ลูกเรือถาวรคณะแรก คือ [[เอ็กซ์เพดิชั่น 1]] ที่ไปถึงสถานีอวกาศตั้งแต่ [[2 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2000]] จนถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2011 คณะลูกเรือชุด [[เอ็กซ์เพดิชั่น 28]] อยู่ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่<ref name="Ex28">{{cite web|url=http://www.nasa.gov/mission_pages/station/expeditions/expedition28/index.html|publisher=NASA|title=Expedition 28}}</ref> นับรวมแล้วปฏิบัติการนี้ได้ดำเนินการมาเป็นเวลากว่า 10 ปี และถือเป็นสถิติการอยู่อาศัยของมนุษย์ในอวกาศโดยไม่ขาดความต่อเนื่องที่ยาวนานที่สุดอีกด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.nasa.gov/mission_pages/station/main/5_year_anniversary.html|title=We've Only Just Begun|publisher=NASA|accessdate=March 6, 2009|date=June 26, 2008}}</ref>
 
ตัวสถานีอวกาศนานาชาติประกอบด้วยสถานีอวกาศในโครงการต่าง ๆ ของหลายประเทศ ซึ่งรวมไปถึง ''[[สถานีอวกาศเมียร์-2|เมียร์-2]]'' ของอดีตสหภาพโซเวียต, ''[[สถานีอวกาศฟรีดอม|ฟรีดอม]]'' ของสหรัฐ, ''[[โคลัมบัส (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)|โคลัมบัส]]'' ของชาติยุโรป และ ''[[โมดูลการทดลองของญี่ปุ่น|คิโบ]]'' ของญี่ปุ่น<ref name="SSSM"/><ref name="ISSBook">{{cite book|url=http://www.amazon.co.uk/International-Space-Station-Springer-Praxis/dp/0387781447/ref=sr_1_1?ie=UTF8&s=books&qid=1254674025&sr=8-1|ISBN=978-0387781440|date=June 17, 2008|publisher=Springer-Praxis|author=John E, Catchpole|title=The International Space Station: Building for the Future}}</ref> งบประมาณจากแต่ละโครงการทำให้ต้องแยกออกเป็นโครงการย่อย ๆ หลายโครงการก่อน แล้วจึงนำไปรวมกันเป็นสถานีนานาชาติที่เสร็จสมบูรณ์ในภายหลัง<ref name="SSSM"/> โครงการสถานีอวกาศนานาชาติเริ่มต้นปี ค.ศ. 1994 จากโครงการกระสวยอวกาศ ''เมียร์''<ref name="SMB">{{cite web|title=Shuttle–Mir History/Background/How "Phase 1" Started|publisher=NASA|date=April 4, 2004|author=Kim Dismukes|url=http://spaceflight.nasa.gov/history/shuttle-mir/history/h-b-start.htm|accessdate=April 12, 2007|archive-date=2016-03-04|archive-url=https://web.archive.org/web/20160304113151/http://spaceflight.nasa.gov/history/shuttle-mir/history/h-b-start.htm|url-status=dead}}</ref> โมดูลแรกของสถานีอวกาศนานาชาติคือ ''[[ซาร์ยา]]'' ถูกส่งขึ้นในปี ค.ศ. 1998 โดยประเทศรัสเซีย<ref name="SSSM"/> หลังจากนั้นได้มีการเชื่อมต่อกันหลายครั้งด้วยโมดูลที่ได้รับการปรับความดันอย่างซับซ้อน โครงสร้างภายนอกสถานี และองค์ประกอบอื่นๆ ที่นำส่งขึ้นโดยกระสวยอวกาศของสหรัฐอเมริกา จรวดโปรตอนของรัสเซีย และจรวดโซยูสของรัสเซีย<ref name="ISSBook"/> นับถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2010 สถานีอวกาศมีชิ้นส่วนโมดูลปรับความดัน 13 โมดูล ติดตั้งอยู่บนโครงค้ำหลัก ([[Integrated Truss Structure]]; ITS) ระบบไฟฟ้าของสถานีมาจาก[[แผงรับแสงอาทิตย์]]ขนาดใหญ่ 16 แผงติดตั้งอยู่บนโครงสร้างภายนอก และมีแผงขนาดเล็กกว่าอีก 4 แผงอยู่บนโมดูลของรัสเซีย<ref name="Arrays">{{cite web|url=http://www.nasa.gov/mission_pages/station/behindscenes/truss_segment.html|title=Spread Your Wings, It's Time to Fly|publisher=NASA|date=July 26, 2006|accessdate=September 21, 2006}}</ref> สถานีอวกาศนานาชาติลอยอยู่ในวงโคจรที่ความสูงระดับ 278-460 กิโลเมตรเหนือพื้นโลก เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 27,724 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โคจรรอบโลก 15.77 รอบต่อวัน<ref name="tracking"/>
 
สถานีอวกาศนานาชาติเป็นโครงการร่วมกันระหว่างหน่วยงานด้านอวกาศ 5 หน่วยจากชาติต่างๆ ได้แก่ [[องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา|องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ]] (NASA, [[สหรัฐอเมริกา]]), [[องค์การอวกาศสหพันธรัฐรัสเซีย]] (RKA, [[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]]) ,[[องค์การอวกาศแคนาดา]] (CSA, [[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]]) ,[[องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น]] (JAXA, [[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]) และ [[องค์การอวกาศยุโรป]] (ESA, [[สหภาพยุโรป]]) <ref>มี 10 ประเทศที่เข้าร่วม; [[ออสเตรีย]] [[ฟินแลนด์]] [[ไอร์แลนด์]] [[โปรตุเกส]] และ[[สหราชอาณาจักร]] เลือกที่จะไม่เข้าร่วม; [[กรีซ]]และ[[ลักเซมเบิร์ก]]เข้าร่วมกับ ESA ในเวลาต่อมา. {{cite web|url=http://www.esa.int/esaHS/partstates.html|title=ESA - Human Spaceflight and Exploration - European Participating States|accessdate=2005-07-03|publisher=ESA|language=อังกฤษ}}</ref> การระบุความเป็นเจ้าของและการใช้สอยสถานีดำเนินการภายใต้สนธิสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศหลายฉบับ<ref name="ESA-IGA"/> โดยที่รัสเซียเป็นเจ้าของชิ้นส่วนโมดูลของรัสเซียเองโดยสมบูรณ์<ref name="RSA-MOU"/> ESA ประเมินค่าใช้จ่ายของโครงการสถานีอวกาศนานาชาติอยู่ที่ประมาณ 100,000 ล้านยูโรตลอดช่วงระยะเวลา 30 ปี<ref name="costs"/> ด้วยงบประมาณมหาศาลนี้ทำให้โครงการกระสวยอวกาศนานาชาติตกเป็นเป้าของการวิพากษ์วิจารณ์มากมายทั้งในด้านการเงิน ความสามารถในการทำวิจัย และการออกแบบทางเทคนิค<ref name="Crit1"/>
 
ส่วนต่างๆ ของสถานีถูกควบคุมโดยศูนย์ควบคุมปฏิบัติการบนพื้นโลกหลายแห่ง รวมไปถึง ศูนย์ควบคุมปฏิบัติการของนาซา (MCC-H) ศูนย์ควบคุมปฏิบัติการของ RKA (Russian Space Agency - TsUP) ศูนย์ควบคุมโครงการโคลัมบัส (Col-CC) ศูนย์ควบคุม ATV (ATV-CC) ศูนย์ควบคุมปฏิบัติการของญี่ปุ่น (JEM-CC) และศูนย์ควบคุมปฏิบัติการสำคัญอื่นๆ (HTV-CC และ MSS-CC) <ref name="ISSRG"/> การซ่อมบำรุงสถานีอวกาศนานาชาติดำเนินการโดยกระสวยอวกาศทั้งแบบที่ใช้มนุษย์และไม่ใช้มนุษย์ควบคุม รวมถึงกระสวยอวกาศโซยูส กระสวยอวกาศโพรเกรส ยานขนส่งอัตโนมัติ และ ยานขนส่ง H-II<ref name="ISSRG"/> มีนักบินอวกาศและนักสำรวจอวกาศจากประเทศต่างๆ 15 ประเทศได้ขึ้นไปเยี่ยมชมแล้ว<ref name="10th"/>
 
== วัตถุประสงค์ ==